มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ความทุกข์ในการครองเรือน
อยู่มาวันหนึ่ง เศรษฐีกรุงพาราณสีได้เกิดความคิดอย่างนี้ขึ้น ด้วยความรักและความคุ้นเคยในพระโพธิสัตว์ว่า "ชื่อว่าการบวชเป็นทุกข์ เรายังปริพาชกชื่อว่า วัจฉนขะ ผู้เป็นสหายของเราให้สึก แล้วแบ่งสมบัติทั้งหมดให้แก่ปริพาชกไปครึ่งหนึ่ง เราทั้งสองก็จักอยู่ด้วยความปรองดองกัน"
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 25 ยุคศิวิไลซ์อันน่าอัศจรรย์ (5)
สำหรับชีวิตการครองเรือนของคนในยุคนั้น ผู้หญิงที่มีอายุเข้าสู่ปีที่ห้าร้อย จะเริ่มคิดถึงการมีครอบครัวและเข้าสู่วัยแห่งการแต่งงาน
วิสาขามหาอุบาสิกา (โอวาท ๑๐)
การสงเคราะห์บุตรและภรรยา เป็นอุดมมงคล
จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 8
ลูกได้แลเห็นความเสื่อมในสังขารของตนเองและภรรยา เพราะทุกๆคนบนโลกใบนี้ ล้วนมีความแก่เป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 7
แม้ลูกได้ไปพรากเอาคนรักจากเจ้าของให้มาเป็นภรรยาของตนโดยไม่รู้มาก่อนก็ตาม แต่วิบากกรรมกาเมฯก็ได้ถูกตั้งเป็นผังสำเร็จแล้ว
บุพกรรมใดพี่สาวของลูกถึงเป็นโสด เขามีบุญพอที่จะมีคนมาเลี้ยงดูตอนแก่หรือตอนป่วยไข้ไหมครับ และเขาจะต้องทำอย่างไรในบั้นปลายชีวิตครับ
พี่สาวของลูกมีความสุขกับชีวิตโสด เพราะเธอบอกว่า จะได้ไม่ต้องเป็นทาสใคร แต่เธอมีความกังวลใจลึกๆ ว่า ในบั้นปลายชีวิตจะไม่มีคนดูแลยามป่วยไข้
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (4)
ผู้ครองเรือนไม่ควรบริโภคอาหารที่มีรสอร่อยแต่ผู้เดียว ไม่ควรซ่องเสพถ้อยคำให้ติดอยู่ในโลก ที่ไม่เกื้อกูลต่อสวรรค์และนิพพาน เพราะถ้อยคำเช่นนั้น ไม่ทำให้ปัญญาเจริญได้เลย ผู้ครองเรือนพึงเป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยวัตร ไม่ประมาท มีปัญญาเครื่องสอดส่องเหตุผล มีความประพฤติถ่อมตน ไม่เป็นคนตระหนี่ถี่เหนียว เป็นผู้สงบเสงี่ยม มีวาจาเป็นมิตร
ทุกวันนี้ ลูกรู้สึกว่าใจมัน เบาๆ ใสๆ นุ่มๆ ไม่อยากโกรธใคร บางวันตื่นนอนพร้อมกับองค์พระที่ขยายใหญ่ทันทีที่รู้สึกตัว เวลานอนก็หลับในอู่ทะเลบุญ มีความสุขมาก ไม่เคยคิดเลยว่า คนอย่างเราก็ทำได้ เหมือนได้ชีวิตใหม่ที่เพิ่งเริ่มต้นเมื่ออายุ 61ปี
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 92
มโหสถบัณฑิตจึงสรุปเพื่อยืนยันมติของตนอีกครั้งว่า “ถูกแล้วท่านอาจารย์ ความเป็นคนจริง พูดจริง ทำจริง เป็นคุณสมบัติที่ถือเป็นหลักของคนได้แน่” แล้วอาจารย์เสนกะก็รุกถามถึงประเด็นสำคัญต่อไปว่า “ผู้ดำรงมั่นอยู่ในความสัตย์จริงแล้ว ควรจะปฏิบัติอย่างไรต่อไป”