กำเนิดสุริยคราส
บรรดาสัตว์ผู้มีอัตภาพ(ใหญ่) อสุรินทราหูเป็นเลิศ บรรดาบุคคลผู้บริโภคกาม พระเจ้ามันธาตุราชเป็นเลิศ บรรดาผู้ยิ่งใหญ่ มารเป็นเลิศ พระพุทธเจ้าผู้รุ่งเรืองด้วยฤทธิ์ อันชาวโลกกล่าวว่า เป็นเลิศในโลก พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ทั่วทั้งภูมิเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ ทั้งในเบื้องสูง ท่ามกลาง และเบื้องล่าง
ธรรมะกับพระธรรมมีความหมายการใช้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
คำว่า “พระธรรม” เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา หมายถึงคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าด้วยเรื่องความจริงและความดี เกี่ยวกับโลกและชีวิต ธรรมะหมายถึงความดี ความจริงประจำโลก
วิธีเตรียมความพร้อมก่อนไปนิพพาน
การเตรียมตัวไปนิพพานแม้จะไม่เหมือนกับการเตรียมเดินทางในโลกนี้ ก็ตาม แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน คือ ต้องมีการศึกษาตามลำดับ จากท่านผู้รู้ทั้งหลายในอดีต
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 87 สัจจบารมี
สัจจบารมี คือ ความจริงจังจริงใจ กล่าวคือ จริงทั้งคำพูดและการกระทำ หากตั้งใจที่จะกระทำสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ดี ก็จะต้องมุ่งมั่นทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 61 อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์
ด้วยความที่พระโพธิสัตว์เป็นผู้ที่มีหัวใจรักในการสร้างบารมีอย่างไม่มีประมาณ เราจึงสามารถสรุปอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ได้หกประการ ดังนี้
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งด้วยตนเอง
เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวง อันตัณหา และทิฏฐิไม่ฉาบทาแล้ว ในธรรมทั้งปวง ละธรรมเป็นไปในภูมิสามได้หมด พ้นแล้วเพราะ ความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัสรู้ยิ่งเองแล้ว จะพึง อ้างใครเล่า อาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเรา ก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับ ทั้งเทวโลก เพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลก
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_4
ดูก่อนสุเมธดาบส ท่านจงสมาทานศีลบารมีข้อที่ ๒ นี้ กระทำให้มั่นก่อน จงถึงความเป็นผู้มีศีลบารมี หากท่านปรารถนา เพื่อจะบรรลุพระโพธิญาณ หางจามรีคล้องติดในที่ไหนก็ตาม ถ้าปลดขนหางออกไม่ได้ มันก็ยอมตายในที่นั้น แม้ฉันใด ท่านจงบำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์ในภูมิทั้งสี่ อย่าได้เห็นแม้แก่ชีวิต รักษาเฉพาะศีลเท่านั้นในกาลทุกเมื่อ เหมือนจามรีรักษาขนหางด้วยชีวิต ฉันนั้นเถิด
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 202
พระแม่เภรีคิดว่า “บัดนี้เกียรติคุณของท่านมหาบัณฑิตได้เป็นที่ประจักษ์แก่เหล่าข้าราชบริพารทั้งหลายแล้ว แต่เกียรติคุณของท่านมหาบัณฑิตจะปรากฏเพียงนี้หาควรไม่ เราจักต้องทำให้ปรากฏในท่ามกลางชาวเมืองทั้งสิ้น ให้เป็นประหนึ่งว่าประพรมน้ำมนต์รดทั่วมหาสมุทรทีเดียว”