สิ่งที่สอนคนเราไม่ได้ก็คือสามัญสำนึก
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
กัณฑินาชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการตกอยู่ในอำนาจสตรี
กุลบุตรตระกูลพราหมณ์ผู้หนึ่ง มีโอกาสได้ฟังธรรมในพระเวฬุวันอันเป็นอารามแรกในพระพุทธศาสนาก็ศรัทธาจนแก่กล้า ประพฤติตนอยู่ในหลักคำสอนตั้งแต่นั้น
กิเลส เพื่อนซี้ที่ไม่รู้จัก
กิเลส เป็นศัพท์เฉพาะ มีอยู่ในพระไตรปิฎกเท่านั้น ผู้ที่เห็นกิเลสเป็นท่านแรก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ภพชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด
คำถาม : อะไรเป็นเหตุให้เกิดภพเกิดชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้
กิเลส 3 ตระกูล
กิเลสที่มีอยู่ในใจของมนุษย์ มีอยู่ 3 ตระกูลใหญ่ กิเลสตระกูลที่ 3 เรียกว่า โมหะ เป็นโรคร้ายฝังอยู่ในใจที่คอยบีบคั้นให้มนุษย์คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว แล้วผลของความชั่วทำไว้ก็ไม่หายไปไหน มันได้กลายเป็นมารร้ายย้อนกลับมา ตามจองล้างจองผลาญเราข้ามภพข้ามชาติ
วิธีตัดเหตุแห่งทุกข์
ตัณหาทำให้คนเกิด จิตของผู้มีตัณหาย่อมซัดส่ายไปมา หมู่สัตว์มัวท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏ ทุกข์เป็นภัยใหญ่ของเขา
ความขยัน ความไม่ประมาท
ด้วยความขยัน ด้วยความไม่ประมาท ด้วยความสำรวมระวัง และด้วยการข่มใจตนเอง ผู้มีปัญญาควรสร้างเกาะ (ที่พึ่ง) แก่ตน ที่ห้วงน้ำ (กิเลส) ไม่สามารถท่วมได้
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
ทำอย่างไรสังคมจะสงบสุข
วันนี้มีคุณโยมท่านนึงถามมาว่า กราบนมัสการพระอาจารย์ครับ ทำไมคนในสังคมของเราเนี่ยถึงไม่ให้อภัยกัน ทำอย่างไรจึงจะให้สังคมสงบสุขครับ