ผลกรรมของคนเห็นแก่ตัว
คำถาม : เห็นคนอื่นอยากได้แต่ของคนอื่น และเป็นคนที่เห็นแก่ตัวมาก ทำไมเขาจึงเป็นอย่างนั้น ผลกรรมของคนเห็นแก่ตัวคืออะไร
เมื่อต้องอยู่กับคนเห็นแก่ตัว
คำถาม : อยู่กับคนชอบเอาเปรียบ เห็นแก่ตัว ขี้เกียจ เกี่ยงงาน ไม่รับผิดชอบหน้าที่ตัวเอง เราต้องทำงานแทนตลอดเลยค่ะ เหนื่อยทั้งกาย เหนื่อยทั้งใจ ต้องทำอย่างไรดีคะจึงจะความสุขถ้าอยู่กับคนแบบนี้?
False Friendship 1: A Selfish Person
We may wonder what behaviors are meant when one is selfish.
มิตรแท้ มิตรเทียม
เพื่อนหรือมิตรมีกี่ประเภท มีลักษณะอย่างไรบ้าง ? แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นมิตรแท้มิตรเทียม ? วิธีรักษามิตรแท้ให้อยู่กับเรานาน ๆ ต้องทำอย่างไร ?
การเกิดขึ้นของนิสัยดี นิสัยชั่วมีที่มาอย่างไร
นิสัยชั่วเริ่มจากความผิดพลาดเล็กน้อย คนจะเลว จะชั่ว เมื่อเริ่มแรกมักไม่ได้ทำชั่ว พูดชั่ว คิดชั่ว หนักหนาอันใด แต่มักเริ่มจากคุ้นเคยกับนิสัยบางอย่างที่ดูเหมือนไม่มีอะไรชั่ว แต่เมื่อทำไปแล้วภายหลังค่อยลุกลามกลายเป็นไม่ดี กลายเป็นชั่วไปในที่สุด
วิสาขามหาอุบาสิกา (โอวาท ๑๐)
การสงเคราะห์บุตรและภรรยา เป็นอุดมมงคล
เปลี่ยนตัวเองใหม่ใครก็รัก
การเป็นที่รักเป็นเรื่องสำคัญ คนที่ประสบความสำเร็จมักจะเป็นที่รักมากกว่าที่ชัง การเป็นที่รักเรื่องราวส่วนใหญ่มันอยู่ที่ตัวเรา ไม่อยู่ที่คนอื่น เพราว่าคนอื่นจะรักเราหรือไม่ถูกใจเรานั้น จริงแล้วมันก็เป็นภาพกระจกเงาที่จะสะท้อนให้คนอื่นเห็น คือตัวเราต้องน่ารักก่อนคนอื่นถึงจะรัก มีอยู่หลายเรื่องๆ ด้วยกัน ที่ทุกคนจำเป็นต้องประสบเหมือนกัน และเรื่องเหล่านั้นเราจะจัดการอย่างไร
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "ตามรอยยุคลบาท จะเป็นปราชญ์ที่ดี"
พุทธสุภาษิต วันนี้ "มหาปุริสภาวสฺส ลกฺขนํ กรุณาสโห อัชฌาศัยที่ทนไม่ได้เพราะกรุณา เป็นลักษณะของมหาบุรุษ" พุทธศาสนสุภาษิต ที่บัณฑิตควรศึกษาไว้...
การเดินทางเริ่มขึ้นเมื่อหลับตา
สมาธิ ทำให้ชีวิตทั้งหมดของผมเปลี่ยนแปลง ผมคิดว่า นี่คือ ขุมทรัพย์ที่ผมค้นพบ อย่างไม่คาดหวัง ผมมีใจที่ปลอดโปร่ง มีความสุขมากขึ้น มีอุปกรณ์ที่พร้อมจะก้าวไปข้างหน้า และเอาชนะอุปสรรคต่างๆได้ เมื่อก่อนผมชอบดื่มไวน์เพื่อช่วยให้จิตใจสงบหลังการทำงานหนัก และเคร่งเครียด แต่ตอนนี้ผมหันหลังให้กับวิธีนั้นแล้ว เมื่อความเครียดเริ่มก่อตัวขึ้น เพียงแค่ผมนั่งลงและทำสมาธิ ก็ทำให้ใจผมปลอดโปร่ง และนอนหลับอย่างเป็นสุขครับ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - เศรษฐีผู้มีใจตระหนี่
คนตระหนี่กลัวความยากจนย่อมไม่ให้อะไรแก่ผู้ใด ความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ คนตระหนี่ย่อมกลัวความอยากข้าวอยากน้ำ ความกลัวนั่นแหละจะกลับมาสู่คนพาลทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทินกำจัดความตระหนี่เสียแล้วให้ทานเถิด เพราะบุญย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า