มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - สิ่งที่พึงพิจารณาบ่อยๆ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธ ประสงค์ให้พุทธบริษัททั้งหลาย หมั่นเจริญมรณานุสติอยู่เนืองๆ ชนิดทุกลมหายใจ เข้าออก เพราะชีวิตมนุษย์นั้นสั้นยาว เพียงแค่ลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูกเท่านั้น ไม่ได้ยืนยาวอย่างที่เรานึกคิดกันเอง การพิจารณาถึงความตายนี้ เป็นสิ่งที่พวกเราต้องพิจารณาโดยแยบคาย พิจารณาบ่อยๆ
อานิสงส์การสร้างโบสถ์ วิหาร
การสร้างมหาวิหารเพื่อถวายแด่สงฆ์ผู้เดินทางมาจากทิศทั้งสี่ และให้ผู้ใคร่ในการปฏิบัติธรรมได้ใช้สอย เป็นสิ่งที่พระบรมศาสดาทรงยกย่อง นรชนใดถวายที่อยู่แก่สงฆ์ นรชนนั้นท่านกล่าวว่า ชื่อว่าให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณอันประเสริฐ ที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญแล้ว
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ประพฤติธรรม คือ เรื่องสำคัญของชีวิต
สังขารร่างกายของเราก็เช่นเดียวกัน ความแก่ ความเจ็บ ความตายได้คืบคลานเข้ามาในชีวิตเรา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกอนุวินาที โดยที่ตัวเราก็สังเกตไม่ออก เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๖๐ ปี จึงรู้ว่าเราแก่ลงทุกขณะ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องกันไปสู่ความเสื่อมสลาย ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
เรื่องของคนขี้อวด
คนขี้อวด การรับมือกับคนขี้อวด
อานิสงส์ถวายวัดเวฬุวัน
นอกจากพระพุทธเจ้าผู้เป็นนาถะของโลก ปากคน ๑ นหุต บุรุษไรเล่าผู้สามารถจะกล่าวอานิสงส์ของการถวายที่อยู่อาศัยได้
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ควรบูชา
ผู้ใดพึงบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ยังดำรงพระชนมชีพอยู่ก็ดี พึงบูชาพระบรมธาตุแม้ประมาณเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด แม้พระองค์ท่านนิพพานแล้วก็ดี เมื่อจิตอันเลื่อมใสของผู้นั้นเสมอกัน บุญก็มีผลมากเสมอกัน เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลายจงทำสถูปบูชาพระบรมธาตุของพระชินเจ้าเถิด
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย (2)
“ความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ ต้องรวมหยุดเป็นจุดเดียวกัน เมื่อหยุดแล้วจึงดับ เมื่อดับแล้วจึงเกิด”