บุญบาปมาจากไหน
คำถาม : บุญบาปคืออะไรและใครเป็นคนกำหนดขึ้นมา
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การเกิดขึ้นของนิสัยดี นิสัยชั่วมีที่มาอย่างไร
นิสัยชั่วเริ่มจากความผิดพลาดเล็กน้อย คนจะเลว จะชั่ว เมื่อเริ่มแรกมักไม่ได้ทำชั่ว พูดชั่ว คิดชั่ว หนักหนาอันใด แต่มักเริ่มจากคุ้นเคยกับนิสัยบางอย่างที่ดูเหมือนไม่มีอะไรชั่ว แต่เมื่อทำไปแล้วภายหลังค่อยลุกลามกลายเป็นไม่ดี กลายเป็นชั่วไปในที่สุด
188 คำสอนยาย ขุมทรัพย์ล้ำค่าจากคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
เลิศล้ำ 188 คำสอนยาย จาก 14 หมวด คุณยายพูดน้อย แต่ทุกถ้อยคำนั้นล้ำค่า เป็นถ้อยคำแห่งความเมตตา คำสอนของท่าน จึงเป็นความทรงจำอันงดงามที่ขอน้อมนำมาถ่ายทอดสู่ชนทั้งหลายเพื่อประกาศพระคุณของคุณยาย ผู้เป็นมิ่งขวัญ และเป็นยอดกัลยาณมิตร...
กิงฉันทชาดก ชาดกว่าด้วยโทษที่ฉกฉวยเอาประโยชน์ของคนอื่น
ในความยาวนานเป็นอสงไขยแห่งห้วงอนันตจักรวาลนี้ ทุกชีวิตล้วนเคยเกิดและตายมานับครั้งไม่ถ้วนจนกระดูกของคนนับได้ว่ากองเท่าภูเขาและสูงใหญ่ได้เท่ากับผู้อยู่ใกล้ตัวที่ต้องร่วมกรรมต้องกันมาทุกชาติทุกชีวิต มีความเป็นไปเช่นนี้เหมือนกันหมด
ทำอย่างไรจึงจะเข้าใกล้ความสำเร็จได้ด้วยอุปสรรค
ไม่มีใครในโลกนี้ที่เกิดมาแล้วไม่พบเจอกับอุปสรรค ในชีวิตจริงของเรานั้นต้องพบเจอกันอยู่แล้ว ดังนั้นทุกครั้งที่เราต้องพบเจอกับอุปสรรคเราจึงต้องแก้ไขและฟันฝ่าไปให้ได้
การบูชาพระจุดเทียนเล่มเดียวได้หรือไม่
โดยปกติเวลาบูชาพระ เราใช้เทียน 2 เล่ม ใช้ธูป 3 ดอก ธูปเป็นการบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งมีพระคุณยิ่ง 3 ประการ เทียนเป็นการบูชาคุณของพระธรรม ซึ่งมีพระคุณ 2 ประการ
ไม่คบคนพาล-ให้คบบัณฑิต-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนพาลมีลักษณะอย่างไร คบแล้วมีผลเสียอย่างไร,ถ้าเราจำเป็นต้องอยู่ในสังคมทำงานกับคนพาลจะวางตัวอย่างไรดี,บัณฑิตแบบไหนที่เราควรจะคบหาด้วย ถ้าคบแล้วดีอย่างไร
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 190
พระราชาพระองค์น้อยทรงทัดทาน แต่ก็ไม่สำเร็จ เมื่อไม่อาจจะยับยั้งความตั้งใจของมโหสถได้ ในที่สุดพระองค์จึงทรงประทานพระบรมราชานุญาตให้ตามที่ขอ ตรัสว่า “ท่านบัณฑิต ท่านจงไปเถิด ไปอยู่กับพระอัยกาของเรา แต่ขอให้ท่านกลับเยี่ยมเราบ้างก็แล้วกัน”
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๒)
คนพาลทำกรรมชั่วที่มีผลเผ็ดร้อน แล้วเดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้นไม่ดี ไม่ควรกระทำ ส่วนบุคคลใดทำกรรมใดแล้ว มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน ไม่เดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้น เป็นความดี ควรทำ