เชิญชมนิทรรศการ change the world ที่สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
บอกเล่าเรื่องราวส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การสร้างวัดพระธรรมกายและมโนปณิธานของวัดฯ ที่ได้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติมานานกว่า 40 ปี
116 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2568 วันคล้ายวันเกิดครบรอบ 116 ปี คุณยายมหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูงผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา ทำความดีมาตลอดกว่า 50 ปี ด้วยใจบริสุทธิ์
กรณีมีข่าวปรากฏตามสื่อมวลชนว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) ออกหมายเรียกพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เพื่อรับทราบข้อกล่าวหาในความผิดฐานสมคบกันฟอกเงินและร่วมกันรับของโจร วัดพระธรรมกายขอยืนยันในความบริสุทธิ์ของพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) และปฏิเสธข้อกล่าวหาทั้งหมด
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย
หลวงพ่อธัมมชโย มีนาม เดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม นามว่าจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย ตอน จากวันวานถึงวันนี้
วัดพระธรรมกายในวันนี้ ได้ผ่านวันเวลาอันยาวนานมาถึง 4 ทศวรรษ โดยมุ่งมั่นในการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติตลอดมา
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย ตอน พลิกทุ่งนาฟ้าโล่ง สู่บุญสถานอันศักดิ์สิทธิ์
เมื่อทุกคนมีความพร้อมทั้งกายใจ การสร้างวัดพระธรรมกายจึงเริ่มขึ้น เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชา
ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย
ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย กว่าจะมาเป็นวัดพระธรรมกายที่เราได้เห็น ได้มาทำบุญได้มาปฏิบัติธรรมกันอยู่ในทุกวันนี้
๔๐ปีวัดพระธรรมกายกับความหมาย“การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำ
๔๐ ปี วัดพระธรรมกาย กับความหมาย “การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำวัดพระธรรมกาย เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เพื่อสืบสานมโนปณิธานอันยิ่งใหญ่ของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร)หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ที่ท่านได้ปฏิบัติธรรมโดยเอาชีวิตเป็นเดิมพันจนสามารถเข้าถึง “พระธรรมกาย” อันเป็นกายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญเดือน ๑๐ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ จากนั้นเป็นต้นมา ท่านได้มุ่งมั่นทำงานพระพุทธศาสนาและเผยแผ่วิชชาธรรมกายไปอย่างกว้างขวางจน มีลูกศิษย์ทั้งในและต่างประเทศ