95 ปี วิชชาธรรมกาย
คำว่า “ธรรมกาย” มีการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เมื่อพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ได้ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาจนได้บรรลุธรรมกาย เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
อานุภาพพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ
ความศักดิ์สิทธิ์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)ที่ประจักษ์แก่สายตาศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 3
ว่า นิพพานมีอย่างเดียว แต่มองเป็น 2 ด้าน ด้านที่หนึ่งคือ นิพพานในแง่ของความสิ้นกิเลส ซึ่งมีผลต่อการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกภายนอก หรือต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ด้านที่สอง คือ นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะจำเพาะล้วนๆ แท้ๆต
มหาปูชนียาจารย์ (3)
ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม
มหาปูชนียาจารย์ (2)
ภิกษุใด ยังหนุ่มยังแน่น พากเพียรอยู่ในพระพุทธศาสนา ภิกษุนั้น ย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจพระจันทร์ที่พ้นแล้วจากเมฆหมอก สว่างอยู่ ฉะนั้น
มหาปูชนียาจารย์ (1)
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การบูชาปูชนียบุคคลทั้งหลาย นี้เป็นมงคลอันสูงสุด