ฆ่าสัตว์ใหญ่กับฆ่าสัตว์เล็ก
คำถาม : การฆ่าสัตว์ใหญ่บาปมาก ฆ่าสัตว์เล็กบาปน้อย ทำไมจึงเป็นเช่นนั้นครับ ในเมื่อก็เป็นชีวิตเหมือนกัน
คนที่เคยเป็นสามีภรรยากันได้ทำกรรมใดร่วมกันมา
การที่ชายหญิงมาเป็นสามีภรรยากันนั้น เพราะในอดีตชาติมีความใกล้ชิดสนิทสนมกัน ได้สร้างบุญสร้างบาปร่วมกัน ส่งผลให้มาเจอกันอีก แต่บางชาติก็ไม่เจอ เพราะต่างคนก็มีกรรมเป็นของตนเอง
ประสบอุบัติเหตุ-หมวดปัญหาสังคม
ประสบอุบัติเหตุ ประกอบด้วย ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์/มอเตอร์ไซค์ ตกน้ำตาย เกือบจมน้ำตาย ตกจากที่สูง และถูกไฟฟ้าช็อตตาย
วิบากกรรมปาณาติบาต
สรรพชีวิตไม่ว่าจะเป็นคนหรือสัตว์ เมื่อเกิดมามีชีวิตอยู่บนโลกใบนี้แล้ว ย่อมมีความรักตัว กลัวเจ็บ กลัวตาย ด้วยกันทั้งสิ้น พูดได้ว่า ไม่มีใครเลยที่จะไม่กลัวตาย ไม่ต้องพูดถึงใครที่ไหนอื่นให้ไกลไป ดูแต่ตัวของเราเถิด เมื่อนึกถึงความตายขึ้นมาคราวใด ก็ให้รู้สึกหวั่นใจขึ้นมาคราวนั้น ที่เรากลัวตายนั้น ก็เพราะเหตุว่า เราไม่อยากพลัดพรากจากบุคคลและทรัพย์สมบัติอันเป็นที่รัก อีกทั้งกลัวเพราะไม่รู้ว่า เมื่อตายไปแล้ว จะต้องไปเจอกับอะไร ทุกข์ยากมากแค่ไหน
บาปมากบาปน้อยขึ้นอยู่กับอะไร?
คำถาม : คนที่ถือศีล8 กับศีล5 ทำผิดศีลข้อเดียวกัน เช่นฆ่าสัตว์ บาปจะเท่ากันหรือต่างกันไหมครับ
ผีกักวิญญาณ
ทุกคนก็ลงความเห็นว่า น้องชายตายแทนเพื่อน แล้วญาติๆของลูกจึงได้ไปหาคนทรงอีกครั้ง ก็ได้ความมาว่า “ผีที่สิงอยู่บริเวณนั้นเป็นคนทำให้น้องชายตาย ซ้ำยังกักดวงวิญญาณเอาไว้ด้วย”
ปรโลกนิวส์ ตอน ครอบครัวธรรมปัตโต ตอนที่ 1
ก่อนที่โยมพ่อของลูกจะเสียชีวิตตัวท่านก็ได้ทำตามหลักวิชชาที่พระลูกชายคนเล็ก ได้คอยบอกอยู่ข้างๆ ตัวท่านด้วยการตรึกระลึกนึกถึงบุญทุกๆ บุญที่ตัวท่านได้เคยสั่งสมเอาไว้
กรรมใดทำให้ลูกสาวมีอาการแพ้แสงแดดอย่างรุนแรง ต่อมาก็เป็นโรคไต
ลูกสาวมีอาการแพ้แสงแดดอย่างรุนแรง ถูกแดดแล้วจะปวดบวมตามข้อ โดยเฉพาะหัวไหล่ และต้นคอจะปวดมาก ต้องกินยาแก้ปวดจึงจะทุเลา
ตำนานผีปอบ กำเนิดความเชื่อการนับถือผี
ผีปอบ คือ ผีสายยักษ์ อยู่ในสายการปกครอง ของท้าวเวสสุวัณ ที่เข้าสิงร่างมนุษย์ ก็เพื่ออาศัยร่างมนุษย์กินอาหาร โดยเฉพาะอาหารดิบๆ หรือ สัตว์เป็นๆ
เมื่อผีเข้าโยมแม่-ที่นี่มีคำตอบ
เมื่อผีเข้าใครมักจะมีอาการอย่างนี้จริงหรือ? สายตาจะหลบ หันหน้าหนี ไม่กล้าสบตาโดยเฉพาะกับผู้มีศีลธรรม นัยน์ตาแข็งทื่อไม่กะพริบตาบ่อยเหมือนมนุษย์ปกติ การพูดคุยจะไม่ใช่ความรู้สึกนึกคิดจิตวิญญาณของคนเดิม แต่เป็นของคนใหม่