บูชายัญ บูชายัญคืออะไร บูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
บูชายัญคืออะไร คนเราจะโชคดีจากการเข่นฆ่า ทำร้ายผู้อื่น บูชายัญได้หรือไม่ การบูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
ธรรมคุ้มครองโลก
สัปบุรุษผู้สงบระงับ ประกอบด้วยหิริและโอตตัปปะ ตั้งมั่นอยู่ในธรรมขาว ท่านเรียกว่า ผู้มีธรรมของเทวดาในโลก
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๑)
ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (3)
ลูกเอ๋ย ลูกอย่าเชื่อคำนั้น ข่าวที่ว่า สุคติจะมีเพราะเอาบุตรไปบูชายัญ ทางนั้นเป็นทางไปนรก ไม่ใช่ทางไปสวรรค์ ลูกรัก ลูกจงให้ทาน อย่าได้เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง นี่เป็นทางไปสู่สุคติสวรรค์ ส่วนการไปสู่สุคติ ไม่ใช่เพราะเอาบุตรบูชายัญ
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)