ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 86
เมื่อกลับมาถึงพระราชวัง มโหสถบัณฑิตยังมิได้เข้าเฝ้าพระเจ้าวิเทหราชในทันที แต่ให้โอกาสมหาอำมาตย์เข้าเฝ้าก่อน เพื่อทูลถวายรายงานให้ท้าวเธอทรงทราบล่วงหน้า ส่วนตนก็ยังคงยืนรออยู่ภายนอกเขตพระราชฐาน
ปัญจสุทธาวาส
ภิกษุเมื่อจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นจิตอ่อน ควรแก่การงาน มั่นคง ถึงความไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อแสดงฤทธิ์ เธอย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง ย่อมสามารถลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมาก ใช้อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ เปรียบเหมือนช่างหม้อหรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใด ก็ทำภาชนะชนิดนั้นให้สำเร็จได้
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 85
มโหสถบัณฑิตยิ้มน้อยๆ พลางอธิบายว่า “การที่ข้าพเจ้าต้องมาทำงานเป็นลูกมือนางช่างหม้อเช่นนี้ เป็นความประสงค์ของข้าพเจ้าเอง ข้าพเจ้า ใคร่ครวญดีแล้วจึงได้กระทำเช่นนี้ ก็การสละความสุขเล็กน้อยเพื่อสุขอันไพบูลย์ในอนาคต เป็นสิ่งที่บัณฑิตทั้งหลายพึงกระทำมิใช่หรือ ความลำบากกายเพียงน้อยนิดเพื่อประโยชน์สุขอันยิ่งใหญ่ของวิเทหรัฐ จะไม่ควรหรือ”
ต้นแบบแห่งความดี
บุคคลพึงเห็นโทษในการปฏิบัติผิดทาง ควรศึกษาไตรสิกขา เพื่อละความดำริผิด ควรศึกษาวิเวก และประพฤติวิเวกอันเป็นกิจของพระอริยเจ้า บุคคลผู้ไม่มีความห่วงใยในกามทั้งหลาย ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้โดยยาก
ดำรงตนบนหนทางสู่สวรรค์
มารดาบิดา หรือว่าญาติเหล่าอื่น ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้ แต่จิตอันตั้งไว้ชอบแล้ว พึงทำเขาให้ประเสริฐกว่าเหตุนั้น
ความอัศจรรย์แห่งมนต์ ๒
ชนทั้งหลาย ย่อมรดผู้ที่มีความทุกข์ด้วยน้ำใด ชนทั้งหลายย่อมรดผู้ที่เร่าร้อนด้วยน้ำใด เราจักตายในท่ามกลางน้ำนั้น ภัยเกิดแต่ที่พึ่งอาศัยแล้ว
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
ติดตามพระศาสดาเพื่ออะไร
ดูก่อนอานนท์ สาวกไม่ควรจะติดตามศาสดาเพียงเพื่อฟังสุตตะ เคยยะและไวยากรณ์เลย นั่นเพราะเหตุไร
กระแสแห่งเมตตาจิต
ผู้ใดผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมไม่สงบระงับ ส่วนผู้ใดไม่ผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมสงบระงับ
อานิสงส์แห่งความยึดมั่นในศีล
ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ตั้งอาศัย เป็นประดุจมารดาผู้ให้กำเนิด คุณงามความดีทั้งหลาย เป็นประมุขแห่งกุศลธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น นรชนพึงชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์เถิด