วันครูแห่งชาติ 2567 ประวัติความเป็นมาของวันครู กิจกรรมวันครู
วันครูแห่งชาติ 16 มกราคม กิจกรรมวันครู วันไหว้ครู พานไหว้ครู กลอนวันครู รวมบทความวันครู ในปี 2567 นี้มีกิจกรรมวันครูอะไรที่น่าสนใจบ้าง
ธรรมกายคืออะไร
คำถาม : ธรรมกาย คือ อะไร
กลอนวันมาฆบูชา
กลอนวันมาฆบูชา เรียงร้อยถ้อยคำไพเราะถวายเป็นพุทธบูชา "วันมาฆบูชา"
อัคคิกชาดก ชาดกว่าด้วยท่านอัคคิกะ
สุนัขจิ้งจอกเจ้าเล่ห์ ได้ใช้กลอุบายทำทีว่าตนเป็นผู้มีศีล เข้าไปอาศัยอยู่ร่วมกับฝูงของพวกหนู เพื่อจะหลอกกินเป็นอาหาร แต่ในที่สุดพญาหนูโพธิสัตว์ก็ล่วงรู้ในแผนการของมัน และกำจัดมันได้ในที่สุด
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน ประกายแห่งคำตอบ
และแล้ววันหนึ่งท่านได้พบหนังสือชื่อ “ธรรมกาย” ซึ่งเขียนตามแนวเทศนาของ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ มีข้อความว่า.....
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย
หลวงพ่อธัมมชโย มีนาม เดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม นามว่าจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (บรรลุธรรม)
ผู้ใดยึดเอาพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ผู้นั้นเห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะของผู้นั้นเป็นสรณะอันเกษม เป็นสรณะอันสูงสุด บุคคลอาศัยสรณะนี้แล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
วิชชาธรรมกาย ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์ เมื่อ “ธรรมกาย” เกิดขึ้น วัดปากน้ำได้นับคำวิพากษ์วิจารณ์กันมาก บางพวกก็ปลื้มใจ บางพวกก็หนักใจ บางพวกก็ตั้งข้อกล่าวหาลงโทษวัดปากน้ำอย่างหนัก ถึงกับพูดว่า อวดอุตริมนุสธรรมก็มี ข่าวนี้มิใช่ท่านจะไม่รู้ ท่านได้ยินเสมอๆ แต่เสียงนั้นก็ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนใจแก่ท่านแม้แต่เล็กน้อย ท่านกลับภูมิใจเสียอีกที่ได้ยินคำนั้น
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต