สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
ปิดเยาวราชตักบาตร-แนะทางเลี่ยง
ดาวน์โหลดวารสารอยู่ในบุญ ฉบับเดือนกรกฎาคม 2559
ได้ลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
การต้อนรับพระเถรานุเถระที่เมตตาเดินทางมาร่วมงานวันคุ้มครองโลก (22 เมษายน 2567)
ภาพรวมการต้อนรับพระเถรานุเถระที่เมตตาเดินทางมาร่วมงาน พิธีฉลองอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย และรับถวายมหาสังฆทาน 10,000 กว่าวัดทั่วประเทศ ในวันคุ้มครองโลก วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2567 ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
คณะสงฆ์ และภาคีเครือข่าย โครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข ทั่วประเทศ เจริญพระพุทธมนต์ - บำเพ็ญจิตตภาวนา แด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภาฯ
คณะสงฆ์ - พุทธศาสนิกชน ภาคีเครือข่ายโครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข ทั่วประเทศ เจริญพระพุทธมนต์ - บำเพ็ญจิตตภาวนา ถวายพระพรชัยมงคลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ให้ทรงหายจากพระอาการประชวรในเร็ววัน
คณะสงฆ์ จ.ฉะเชิงเทรา จับมือภาครัฐ-เอกชน ขับเคลื่อนโครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข
คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ร่วมกับภาครัฐ-เอกชน ขับเคลื่อน 10 วัดต้นแบบประจำอำเภอ โครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข สร้างสัปปายะสู่วัดด้วยวิถี 5 ส
สัญญาเวทยิตนิโรธ
อนุปุพพวิหาร คือธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ ๙ ประการ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และสัญญาเวทยิตนิโรธ นี้คืออนุปุพพวิหาร ๙ ประการนี้
ความฝัน 16 ประการของพระเจ้าปเสนทิโกศล ตอนที่ 1
ในกาลสมัยที่พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าของพวกเรา ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงฝันเห็นนิมิตยืดยาวถึง 16 ประการ
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี