วิธีทำบุญให้ถูกหลักวิชชา
กุลบุตรเมื่อหวนระลึกถึงอุปการคุณที่ท่านทำแล้วในกาลก่อนว่า คนโน้นได้ให้สิ่งของแก่เราแล้ว คนโน้นได้ทำอุปการคุณแก่เราแล้ว ญาติมิตร และสหายได้ให้สิ่งของแก่เรา และได้ช่วยทำกิจของเรา ดังนี้ พึงให้ทักษิณาทานแก่เปรตทั้งหลาย
ทำทานอย่างไร จึงจะได้ บุญมาก ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเห็นอุบาสิกาชื่อ นันทมารดา ชาวเมืองเวฬุกัณฑกะ ถวายทักษิณาทานอันประกอบด้วยองค์ 6 ประการ ในภิกษุสงฆ์
พระอรหันต์หาได้ยาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมครูของเรา ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสอาสวะทั้งปวง ได้เข้าถึงฝั่งแห่งพระนิพพานอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ ที่ความทุกข์ใดๆ เข้าไปไม่ถึง จึงมีแต่
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
พิธีตักบาตรพระและสามเณรบวชใหม่ศูนย์อบรมเยาวชนนครปฐม
พิธีตักบาตรพระและสามเณรบวชใหม่ศูนย์อบรมเยาวชนนครปฐม โครงการบรรพชาสามเณร ม.ปลายต้นแบบสู่ AEC มีผู้ปกครองและคณะญาติมาร่วมงานกันอย่างอบอุ่น
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานเป็นทานอันเลิศ
การถวายภัตตาหารหรือไทยธรรมเป็นสังฆทานนี้ พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญว่าเป็นบุญใหญ่ ได้อานิสงส์มากกว่าการถวายจำเพาะเจาะจงภิกษุรูปหนึ่งรูปใด ที่เรียกว่า ปาฏิปุคคลิกทาน เพราะฉะนั้นตั้งแต่โบราณเมื่อจะทำบุญ พระท่านจึงสอนว่าให้ถวายเป็นสังฆทาน เพราะพระสงฆ์เป็นประมุขของผู้หวังบุญ
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๖ )
ข้าพเจ้านั้น จะเว้นจากความเป็นคนตระหนี่ในวันนี้แหละ อนึ่ง ข้าพเจ้าจะไม่พึงกระทำบาปอะไรอีกต่อไป การไม่ให้สิ่งของอะไร จะไม่มีแก่ข้าพเจ้าอีกต่อไป วันใดข้าพเจ้ายังไม่ได้ให้ วันนั้น ข้าพเจ้าจะไม่ยอมกินข้าว