ขอเรียนเชิญร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุก เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ต้อนรับเดือนกันยายนเดือนแห่งการสร้างบุญความดี และร่วมใจน้อมถวายบุญนี้ แด่มหาปูชะนียาจารย์ ด้วยการให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผู้ใจบุญทุกท่านสร้างบุญให้ต่อเนื่อง ร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุด เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
ปล่อยสัตว์ปล่อยปลา เสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560 ณ หอฉันคุณยายฯ
หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมปล่อยปลาดุกไข่ เต่า กบ และนก ในวันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560 ณ หอฉันคุณยายฯ
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
ร่วมปล่อยสัตว์ปล่อยปลา เสาร์ต้นเดือน ณ วัดปทุมทอง อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมปล่อยปลาดุกไข่ เต่า กบ และนก ในวันเสาร์ต้นเดือนที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2555
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
การดำรงอยู่ได้นานแห่งพระสัทธรรม (๒)
ในโลกที่เราอาศัยอยู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ล้วนมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดีสลับกันไป การมองโลกในแง่ดี และเรียน
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๖ )
ข้าพเจ้านั้น จะเว้นจากความเป็นคนตระหนี่ในวันนี้แหละ อนึ่ง ข้าพเจ้าจะไม่พึงกระทำบาปอะไรอีกต่อไป การไม่ให้สิ่งของอะไร จะไม่มีแก่ข้าพเจ้าอีกต่อไป วันใดข้าพเจ้ายังไม่ได้ให้ วันนั้น ข้าพเจ้าจะไม่ยอมกินข้าว