ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 21
ไม้ท่อนนั้นแม้มองด้วยสายตาจะเห็นว่าเท่ากันทั้งสอง ด้าน แต่เมื่อได้วางลงไปในน้ำ แทนจะจมลงไปในน้ำเท่ากัน กลับกลายเป็นว่า ข้างหนึ่งกลับจมลงไปมากกว่าอีกข้างหนึ่ง เมื่อผลปรากฏเป็นเช่นนี้ มโหสถกุมารจึงชี้บอกมหาชนในที่นั้น ให้สังเกตดูลักษณะการจมลงของท่อนไม้ว่า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 20
สิริวัฒกะเศรษฐีกล่าว พลางยื่นท่อนไม้ตะเคียนคืบหนึ่งส่งให้มโหสถดู “พระราชาทรงมีพระบรม ราชโองการมา ให้พวกเราพิจารณาท่อนไม้นี้ว่า ทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย แม้นไม่รู้จะทรงปรับสินไหม 1000 กหาปณะ เราทุกคนในที่นี้ ต่างจนปัญญาไปตามๆกัน ยังไม่อาจจะชี้ได้เลย ว่าทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย ลูกพอจะรู้ได้ไหมล่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 22
นับแต่นั้นมา พระเจ้าวิเทหราชก็ได้ผูกปัญหาส่งไปทดสอบชาวปาจีนยวมัชฌคามอย่างต่อเนื่องมิ ได้ขาด ทั้งนี้ทรงมีพระราชประสงค์จะวัดปัญญานุภาพของมโหสถบัณฑิตแต่เพียงผู้เดียว เท่านั้น แต่ครั้นจะทรงส่งปัญหาไปถึงมโหสถโดยตรง ก็เกรงว่าจะเป็นการจำเพาะเจาะจงจนเกินไป ดังนั้น จึงได้มอบให้เป็นภาระของชาวปาจีนยวมัชฌคามทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน แต่นับวันปัญหานั้นก็จะยิ่งทวีความยากขึ้นไปเรื่อยๆ
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
“นายโคบาลย่อมต้อนโคทั้งหลาย ไปสู่ที่หากินด้วยท่อนไม้ ฉันใด ความแก่ชราและความตายย่อมต้อนอายุ ของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น” (ขุ.ธ.)
ราชองครักษ์ชาตินักรบ ตอนที่ 13
ในระหว่างการช่วยเหลือชาวบ้านผู้รอดชีวิตที่จมโคลนอยู่นั้น ไม้ค้ำซึ่งใช้ยันท่อนไม้ใหญ่ก็ทำท่าว่าจะทานน้ำหนักไม่ไหว นายทหารราชองครักษ์หนุ่มได้ตัดสินใจยอมสละชีวิตของตนเองเพื่อช่วยคนอื่นๆให้ปลอดภัย...ณ วินาทีแห่งชีวิต เสียงไม้ค้ำก็ลั่นเปรี๊ยะ พร้อมกับโค้งโก่งงออย่างน่ากลัว
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
มิตรแท้ในปรโลก
"ความสุขในโลกนี้และโลกหน้าย่อมเกิดกับ ผู้ทำบุญไว้ ผู้ปรารถนาเป็นสหายแห่งเทพ พึงทำบุญกุศลไว้ให้มาก เพราะผู้ทำบุญเป็นนิตย์ย่อม บันเทิงใจอยู่ในสวรรค์"
บทสวดมนต์พาหุงมหากา พร้อมคำแปล
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) บทสวดชัยปริตร พร้อมคำแปล วิดีโอนำสวดพาหุง พร้อมภาพประกอบ