สวรรค์ชั้นดุสิตหรือดุสิตบุรี ดีอย่างไร?
วันวิสาขบูชา 2568 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
บวช..คำตอบสุดท้ายของชีวิตในสังสารวัฏ
ท่านพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวานับเป็นตัวอย่างที่น่าอัศจรรย์ของผู้เห็นภัยในสังสารวัฏนอกจากจะละสมบัติมากถึง ๘๗ โกฏิออกบวชแล้วยังชวนน้องสาว ๓ คน คือ นางจาลา นางอุปจาลา นางสีสุปจาลาและน้องชายอีก ๒ คน คือ จุนทะ อุปเสนะ ให้บวชทั้งหมด
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 1
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า
เทพบุตรมาร (๓)
ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตนี้ ซึ่งไปได้ไกล เที่ยวไปโดดเดี่ยว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย ชนเหล่านั้น จักพ้นจากบ่วงแห่งมารได้
ดุสิตบุรี
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลให้ทานโดยไม่มีหวังผล ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยายของเราเคยให้มาก่อน เราก็ไม่ควรทำให้ประเพณีอันดีนี้ขาดหายไป แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากินได้ แต่สมณะพราหมณ์ไม่ได้หุงหา เราแสวงหาทรัพย์ได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะพราหมณ์ผู้ไม่แสวงหาทรัพย์เลี้ยงชีพ ย่อมไม่สมควร บุคคลนั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้ เมื่อทำกาลกิริยา ละจากโลกนี้ไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหาย แห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นดุสิต
พระศรีอริยเมตไตรย
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอจงทรงหยุดพระธรรมเทศนาแต่เพียงเท่านี้เถิด พระธรรมเทศนาทั้งปวงนั้น มีพระนิพพานสิ่งเดียวเป็นที่สุด บัดนี้ ข้าพระบาทจะตัดเศียรเกล้ากับมงกุฏ กระทำสักการบูชาพระธรรมเทศนาของพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงพระนามว่าสิริมาผู้ประเสริฐ ขอพระองค์จงเสด็จสำราญในอมตมหานิพพานไปก่อนเถิด ข้าพระบาทจะตามเสด็จพระองค์ไปในภายหลัง ด้วยเดชะแห่งผลสักการบูชาของข้าพระบาทนี้
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
ศาสดาเอกของโลก (๒)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้นแบบของยอดนักสร้างบารมี ที่สร้างบารมีในทุกเวลาทุกสถานที่ ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ชาติพระพุทธองค์มุ่งสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้
สละชีวิตเป็นเดิมพันสร้างบารมี - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน