ประเพณีวันสงกรานต์ สงกรานต์ประเพณีไทย
ประเพณีสงกรานต์ไม่ได้มีเพียงในประเทศไทยเท่านั้น ตำนานเรื่องเล่าเกี่ยวกับวันสงกรานต์ ความสำคัญของประเพณีสงกรานต์
วันสงกรานต์ 2567 ประเพณีวันสงกรานต์ ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์
วันสงกรานต์ เป็นประเพณีปีใหม่ของประเทศไทย สงกรานต์มีประวัติความเป็นมาอย่างไร นางสงกรานต์ปี 2567 ชื่ออะไร อยากรู้แล้วเชิญอ่านที่นี่..
เหตุแห่งความมีอายุยืน
“..ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม เหมือนร่มใหญ่ที่กางกั้นฝนในฤดูฝนหรือกันแดด ในฤดูร้อน เพราะฉะนั้นธรรมบาลกุมารย่อมได้รับการคุ้มครองโดยธรรม เราจึงเชื่อว่า เขาต้องไม่ตายแน่นอน..”
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - วันสุดท้ายของชีวิต
สรรพสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลก ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ต่างอยู่บนพื้นฐานของความไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมทุกวินาที และสูญสลายในที่สุด ทุกสิ่งล้วนเป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง เราควรแสวงหาสิ่งที่เป็นความสุขที่แท้จริง นั่นคือ “พระธรรมกาย”
พุทธบุตรผู้มีบุญ
ตอนแรกที่นั่ง ก็มืดมิดครับ ไม่เห็นอะไร พอนั่งไปนานๆ ก็รู้สึกว่า มีแสงสว่างเกิดขึ้น แสงสว่างจากน้อยๆ จะค่อยๆสว่างขึ้นเรื่อยๆ ผมรู้สึกปีติและมีความสุขมากๆครับ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 4
วันหนึ่งขณะที่มโหสถกุมารกำลังวิ่งเล่นกับเหล่าสหาย ภายในสนามเด็กเล่นท่ามกลางหมู่บ้าน พลันมหาเมฆก็ตั้งเค้าทะมึน ไม่ช้าก็โปรยปรายละอองฝนลงมา สายฝนตกกระหน่ำถี่ขึ้นเป็นลำดับ จนเหล่ากุมารต้องรีบวิ่งหนีฝนกันอลหม่าน มโหสถกุมารเห็นความเป็นไปเช่นนั้น ก็ให้นึกสมเพชเวทนา จึงคิด..?
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
วัดพระธรรมกายปฏิเสธการกล่าวอ้างในเฟซบุ๊กชื่อ "เรา รัก ธรรมกาย"
วัดพระธรรมกาย ขอชี้แจงว่า ข้อความดังกล่าวไม่ใช่ข้อความของวัดพระธรรมกาย แต่เป็นข้อความของผู้ใช้ชื่อในเฟซบุ๊ก เรา รัก ธรรมกาย ซึ่งไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร ลูกศิษย์วัด หรือกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายแต่อย่างใด