พระธรรมทูตวัดพระธรรมกาย ถวายบริขารแก่ผู้เข้าอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 30
พระธรรมทูตสายต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย ได้ถวายบริขารแก่พระภิกษุผู้เข้าอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 30
สมุททชาดก ชาดกว่าด้วยสมุทรสาคร
“ เจ้ากาเอ๋ย ทำไมเจ้าต้องไปเที่ยวร้องเตือนฝูงสัตว์ ฝูงปลาให้กินน้ำอย่างประหยัดล่ะ เจ้ามีเหตุผลอะไรของเจ้ารึ ” “ ท่านเทวดา ข้าคือนกกาน้ำผู้กินจุ ข้าต้องการจะดื่มน้ำทะเลนี้แต่เพียงผู้เดียว ถ้าสัตว์ตัวอื่น ๆ กินกันเยอะ ๆ อย่างนี้ ข้ากลัวว่าน้ำทะเลจะหมดเสียก่อน ข้าจึงร้องห้ามยังไงละท่าน ”
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
พระสุภูติเถระ
ท่านจงเจริญพุทธานุสติอันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ครั้นเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังมนัสให้บริบูรณ์ จักรื่นรมย์ในเทวโลกตลอดสามหมื่นกัป จักได้เป็นจอมแห่งเทวดาเสวยเทวสมบัติถึง ๘๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ อยู่ในแว่นแคว้น ๑,๐๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ จักได้เสวยสมบัตินั้นทั้งหมด นี้เป็นผลแห่งการเจริญพุทธานุสติ
ความประทับใจของ สามเณรกองพันอัญเชิญ
1สามเณร สุโทมุ๊ วาตานาเบะ อายุ 11 ปี สามเณรเป็นลูกครึ่งไทย-ญี่ปุ่นครับ และเป็นตัวแทนสามเณรหนึ่งในกองพันอัญเชิญ 2.สามเณรธานินทร์ ตะวะนะ อายุ 21 ปี (ป.ธ.4) จากหมู่กุฏิสามเณรเปรียญธรรม วัดพระธรรมกาย
"สังฆทาน" INTREND ลบภาพปรากฏการณ์ "ถังเหลือง" เต็มวัด
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 6
ด้วยเดชแห่งศีลและพรหมจรรย์ของคนทั้งสอง ได้บันดาลให้ภพแห่งท้าวสักกะเกิดอาการเร่าร้อนขึ้น พระองค์จึงตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมา แล้วรับสั่งให้วิสสุกรรมเทพบุตรไปเนรมิตบรรณศาลาและบรรพชิตบริขารเพื่อบุคคลทั้งสอง
"เจสัน บอร์น"ใจบุญ บริจาคความช่วยเหลือเหยื่อเฮติ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ “ ดรรชนีธรรม ฉบับมงคลสูตร”