รุหกชาดก ชาดกว่าด้วยรุหกะปุโรหิต
ปุโรหิตได้นำเอาเครื่องม้าต้นมาสวมใส่ร่างกายของตนเองตามคำยุยงของภรรยา ผู้คนต่างพากันขบขัน แต่ก็แสร้งชมด้วยความเกรงใจ ปุโรหิตปลาบปลื้มกับคำชื่นชมนั้นได้ไม่เท่าไหร่ เมื่อเดินผ่านพระพักตร์พระเจ้าพาราณสี ความเป็นจริงก็ปรากฏให้รู้
สัพพาทาฐิชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีบริวารมากเป็นใหญ่ได้
ปุโรหิตผู้หนึ่งของพระเจ้าพรหมทัตได้ฝึกซ้อมสาธยายมนต์ที่ชื่อว่า ปฐวีวิชัยมนต์ ปรากฎว่ามีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งแอบได้ยินและสามารถจดจำมนต์นั้นได้ และคิดการใหญ่โดยได้ยกกองทัพสัตว์เดรัจฉานหมายทำการรบกับพระเจ้าพาราณสีหวังจะแย่งชิงราชบัลลังค์
พันธนโมกขชาดก ชาดกว่าด้วยการหลุดพ้นจากเครื่องผูกมัด
อดีตกาลอันไกลออกไป ยังมีอัครเหสีผู้สมบูรณ์พร้อมในอิตถีลักษณ์ ชวนหลงไหล บำรุงบำเรอสุขแก่พระเจ้ากาสี อยู่ในพาราณสีนครหลวง “ หญิงสวยอย่างเรา แม้แต่พระเจ้ากาสีก็ยังหลงไหล ฮึ แล้วมีรึ ชายหนุ่มอื่นใดจะไม่ต้องการ
มหาอุกกุสชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกมิตร
บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข เรากำจัดศัตรูได้ด้วยกำลังแห่งมิตร เป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น
กากชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกอาฆาต
เจ้ากาหัวรั้น ผู้ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของสหาย ได้ก่อเหตุถ่ายรดศีรษะของพราหมณ์ปุโรหิตด้วยความตั้งใจที่จะกลั่นแกล้ง จึงก่อให้เกิดความอาฆาตขึ้นในใจของพราหมณ์ปุโรหิตและเป็นเหตุให้เหล่าพวกพ้องพีน้องกาทั้งหลายต้องพากันเดือดร้อนกันถ้วนหน้า
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๒)
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุษร้ายจิตที่ฝึกแล้ว
เป็นใหญ่ด้วยธรรม
ผู้ปกครองหมู่คณะ ถึงจะมีกำลังอำนาจ แต่ถ้าเป็นคนโง่เขลา ก็เอาดีไม่ได้ ผู้ปกครองหมู่คณะ ถ้าเป็นคนฉลาด และมีกำลัง จึงจะได้ผลดี
ผู้ควรประดับดอกไม้ทิพย์
ผู้มีปัญญา เมื่อปรารถนาความสุข ๓ ประการ คือ คำสรรเสริญ ๑ การได้ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ ๑ ละโลกแล้วได้บันเทิงในสวรรค์ ๑ พึงรักษาศีล
กิงฉันทชาดก ชาดกว่าด้วยโทษที่ฉกฉวยเอาประโยชน์ของคนอื่น
ในความยาวนานเป็นอสงไขยแห่งห้วงอนันตจักรวาลนี้ ทุกชีวิตล้วนเคยเกิดและตายมานับครั้งไม่ถ้วนจนกระดูกของคนนับได้ว่ากองเท่าภูเขาและสูงใหญ่ได้เท่ากับผู้อยู่ใกล้ตัวที่ต้องร่วมกรรมต้องกันมาทุกชาติทุกชีวิต มีความเป็นไปเช่นนี้เหมือนกันหมด
ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว
บุคคลทำกรรมใด ย่อมมองเห็นกรรมนั้นในตน ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด ผลย่อมงอกขึ้นเช่นนั้น