รัตนทั้งเจ็ดของพระเจ้าจักรพรรดิ
พระเจ้าจักรพรรดิหมายถึงพระราชาผู้ยิ่งใหญ่เหนือพระราชาทั้งหลายทั้งปวง
ปัพพตูปัตถรชาดก ชาดกว่าด้วยอภัยโทษ
พระเทวีและอำมาตย์ราชองครักษ์ แม้ทั้งสองจะมีใจให้กัน แต่ทุกครั้งที่แอบนัดพบกันนั้น ก็รู้สึกผิดต่อพระเจ้าพรหมทัตไม่น้อย “ ความรักของเรา คงเป็นไปไม่ได้หรอกท่านองครักษ์ เราไม่สามารถทอดทิ้งองค์พระเจ้าอยู่หัวได้ ” “ พระเทวีรู้สึกอย่างไร หม่อมฉันเข้าใจดี แม้แต่หม่อมฉันเองก็ไม่อาจทรยศต่อพระเจ้าพรหมทัตได้
กาฬยมุฏฐิชาดก ชาดกว่าด้วยโลภมาก
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระเจ้ากรุงโกศลแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ ครั้งนั้นในช่วงฤดูฝนได้เกิดการการกบฏขึ้นทางชายแดนของแคว้นโกศล
กากชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกอาฆาต
เจ้ากาหัวรั้น ผู้ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของสหาย ได้ก่อเหตุถ่ายรดศีรษะของพราหมณ์ปุโรหิตด้วยความตั้งใจที่จะกลั่นแกล้ง จึงก่อให้เกิดความอาฆาตขึ้นในใจของพราหมณ์ปุโรหิตและเป็นเหตุให้เหล่าพวกพ้องพีน้องกาทั้งหลายต้องพากันเดือดร้อนกันถ้วนหน้า
ยอดกุศลธรรม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลายที่เที่ยวไปบนปแผ่นดินเหล่าใดเหล่าหนึ่งรอยเท้าเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมถึงความรวมลงในรองเท้าเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมถึงความรวมลงในรอยเท้าช้าง
เรื่องของกาม
"กาม" คืออะไร ศิลปะ การคำนวณ การค้าขาย ฯลฯ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม...
ความสุขของคนดี
มิอาจปฎิเสธได้ว่า สิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการคือ “ความสุข” แต่การตีค่าความสุขนั้นอาจมีบรรทัดฐานที่แตกต่างกัน
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๒)
การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นสิ่งที่ได้มาโดยยากยิ่ง เพราะเป็นโอกาสเดียวที่สามารถสั่งสมบุญกุศลได้เต็มที่
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๗ (ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป