ตัณหาไม่สิ้นสุด
โลกอันตัณหาย่อมนำพาไป อันตัณหาย่อมผลักไสไป โลกทั้งหมดเป็นไปตามอำนาจของธรรมอย่างหนึ่ง คือตัณหา บัณฑิตพึงรู้โทษของตัณหาว่า เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกเมื่อ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ละตัณหาได้ ไม่ต้องเกิดอีก
ครั้นพระบรมศาสดาทรงแก้ปัญหาจบลงแล้ว พราหมณ์ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม ไม่ได้บรรลุอรหัตผล ได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผลเท่านั้น เพราะเวลาฟังพยากรณ์ปัญหา มีจิตฟุ้งซ่าน คิดถึงลุงผู้เป็นอาจารย์ว่า ลุงของเราหาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาอันลึกซึ้งไพเราะอย่างนี้ไม่ อาศัยความกังวลที่มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความรักใคร่ในลุง จึงไม่อาจทำให้สิ้นอาสวะในตอนนั้นได้
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - ราชฑูตรับใช้ตัวเอง
ตัณหาความทะยานอยาก เป็นสาเหตุของความทุกข์ เมื่ออยากได้ อยากมี อยากเป็น ก็ต้องแสวงหา และในการแสวงหา กว่าที่จะให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมาย ต้องคอยแก้ไขปัญหาสารพัด บางทีจะได้อะไรมาสักอย่างหนึ่ง เลือดตาแทบกระเด็น บางอย่างต้องเอาชีวิตเข้าแลกจึงจะได้มา เหมือนอย่างเรื่องของบุรุษคนหนึ่ง ที่ทั้งน่าทึ่งและน่าประหลาดใจ
อานิสงส์เจริญเมตตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 11 ประการ คือ 1. หลับก็เป็นสุข 2. ตื่นก็เป็นสุข.....
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้
เบื้องต้นเบื้องปลายไม่ปรากฏ
ดูก่อนภิกษุ เราตถาคตจะยกอุปมาให้เธอฟัง สมมติว่า มีภูเขาศิลาลูกใหญ่ยาว ๑ โยชน์ กว้าง ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ มีบุรุษผู้หนึ่งนำเอาผ้าขาวบางมาจากแคว้นกาสี แล้วเอาผ้านั้นลูบภูเขา ๑๐๐ ปีต่อครั้งหนึ่ง การที่ภูเขาศิลาใหญ่แท่งนั้นจะถึงความสิ้นไป เพราะความพยายามของบุรุษนั้น ยังเร็วกว่าระยะเวลาหนึ่งกัป ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอท่องเที่ยวไปมาอยู่ในวัฏสงสาร มิใช่ ๑ กัป มิใช่ ๑,๐๐๐ กัป มิใช่ ๑๐๐,๐๐๐ กัป เป็นเพราะว่า วัฏสงสารนี้กำหนดที่สุดและเบื้องต้นมิได้
ความทุกข์นั้นมีอยู่ แต่ไม่มีใครที่เป็นทุกข์
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
ทำไมต้อง”บวชแต่หนุ่ม”
ประเพณีบวชแต่หนุ่ม เมื่ออายุครบบวช คือ ๒๐ ปี เป็นรากฐานที่มั่นคง ของพระพุทธศานาในเมืองไทยมานับพันปี ทำให้สังคมไทยเข้มแข็งด้วยศีลธรรม
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี