พิธีบำเพ็ญกุศลให้กับ Dr Zemaryalai Tarzi นักวิชาการทางศาสนา
คณะสงฆ์ พร้อมด้วยผู้แทนจากสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ประเทศนิวซีแลนด์ ได้จัดพิธีบำเพ็ญกุศลให้กับ Dr. Zemaryalai Tarzi นักวิชาการทางด้านศาสนา
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”
คัมภีร์ใบลาน ขุมทรัพย์ทางปัญญาของชาวพุทธ
ทีมงานโครงการพระไตรปิฎกวัดพระธรรมกาย จึงนำคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในอดีต มาเชื่อมต่อกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลกยุคปัจจุบัน เพื่อสานต่อไปยังอนาคต ด้วยการใช้กล้องคุณภาพสูงบันทึกหน้าคัมภีร์ใบลานเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เพื่อทำสำเนาสำรองเก็บรักษาเอกสารต้นฉบับ ทำให้ผู้สนใจสามารถศึกษาจากไฟล์ภาพโดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงคัมภีร์ต้นฉบับโดยตรง
สมุดไทย ใบลาน งานศาสน์งามศิลป์
เมื่อครั้งที่อุตสาหกรรมผลิตกระดาษยังไม่เจริญแพร่หลาย ผู้คนสมัยโบราณได้ใช้การเขียน บันทึกลงบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นจารึกบนแผ่นศิลา เปลือกไม้หรือภาชนะดินเผา แม้วัสดุดังกล่าวจะคงทนถาวร แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องน้ำหนักของวัสดุ ขนาดเนื้อที่ และความยากในการจารจารึก...
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
หนังสือแจ้ง กรณี เมส อาแน็ค จากรัฐบาลอัฟกานิสถานล่าสุด มีนโยบายปกป้อง Mes Aynak
คณะกรรมมาธิการ การศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร(กมธ.) ได้หารือกับผู้แทนกระทรวงต่างประเทศ และล่าสุดได้ส่งหนังสือทางการแจ้งความคืบหน้า โดยกล่าวถึง รายงานจาก ฯพณฯ มาวิน ตันอรรถนาวิน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอิสลามาบัด สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระบุรัฐบาลอัฟกานิสถาน มีนโยบายที่จะรักษาโบราณสถานแห่งนี้
รัฐบาลอัฟกานิสถานยินดีอนุรักษ์โบราณสถาน
ขออนุโมทนาบุญในความร่วมแรงร่วมใจของทุกท่าน ที่ได้มีส่วนร่วมในการลงชื่อปกป้องพุทธสถาน เมส อาแน็ค จนทำให้ชาวโลกได้ตระหนักและหันมาช่วยกันดูแล ให้ความคุ้มครอง พุทธสถานอันล้ำค่านี้เอาไว้
นักวิชาการร่วมค้านเปลี่ยนแหล่งอารยธรรม "เมส อาแน็ค"เป็นเหมืองทองแดง
นักวิชาการไทยร่วมค้านเปลี่ยนแหล่งอารยธรรม "เมส อาแน็ค" ในอัฟกานิสถานเป็นเหมืองทองแดง ชี้เป็นสถานที่สำคัญประเมินค่าด้วยเงินไม่ได้ เล็งล่ารายชื่อผู้คัดค้านส่งยูเนสโก ด้าน "เชฟหมี ครัวกากๆ" เผยโบราณสถานคือสมบัติของทุกคน ควรรักษาความรู้และความรู้สึกของคนโบราณไว้ ขณะที่เยาวชนจัดตั้ง "กลุ่มเอสมาไทย" แสดงพลังคัดค้านด้วย
เครือข่ายชาวพุทธลุกฮือ ยื่นหนังสือต่อ UN และ UNESCO ค้านการทำลาย Mes Aynak
วันนี้ที่หน้าสำนักงานองค์การสหประชาชาติ กรุงเทพฯ หรือยูเอ็น น.พ.พรชัย พิญญพงษ์ ประธานองค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก พร้อมด้วยเครือข่ายชาวพุทธก มายื่นหนังสือและชุมนุมคัดค้านการทำลายพุทธสถาน Mes Aynak อายุประมาณ 2,300 ปี ในประเทศอัฟกานิสถาน
Mes Aynak พุทธสถานแห่งเส้นทางสายไหม - รวมภาพ Mes Aynak
Mes Aynak ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุง Kabul ประเทศอัฟกานิสถาน Mes Aynak เป็นมรดกอันล้ำค่าที่เก็บรักษาสิ่งมีค่าทางพระพุทธศาสนาอย่างประเมินค่ามิได้ แต่สถานที่นี้จะถูกปรับเปลี่ยนเป็นเหมืองทองแดงตั้งแต่ภายในเดือนธันวาคม 2555 นี้ ซึ่งเป็นการย่ำยีหัวใจชาวพุทธเพื่อแลกกับประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เพียงเท่านั้น