มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
ตาร้อน จะได้เป็นนางรอง-ท่านรอง
ตาร้อนหมายถึง ริษยา คือ เห็น หรือได้ยิน ได้ฟังว่าคนอื่นประสบความสุข ความสำเร็จแล้วทุกข์ใจคับแค้นใจ ไม่สามารถรักษาปกติของใจเอาไว้ได้
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "อิจฉามี คนดีจะหายาก"
พุทธสุภาษิต วันนี้ "อรติ โลกนาสิกา ความริษยา เป็นเหตุให้โลกพินาศ" พุทธศาสนสุภาษิต ที่บัณฑิตควรศึกษาไว้...
อุปกิเลส 16 อย่าง
อุปกิเลส 16 อย่าง กิเลสละเอียดที่ทำให้ใจเศร้าหมอง มีปกติซ่อนอยู่ในใจเหมือนกับสนิมที่ซ่อนตัวในเหล็ก ซึ่งเป็นเหมือนกับลูกหลานบริวาร สังกัดในกิเลส 3 ตระกูล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 73
อาจารย์เสนกะยังไม่หยุดอยู่เพียงเท่านั้น กลับพูดต่อไปด้วยสีหน้าเคร่งเครียดยิ่งขึ้นไปอีกว่า “เวลา นี้พวกเราน่ะ หากจะเปรียบกับวัตถุที่มีแสง ก็เป็นเพียงแสงของดวงดาว จริงอยู่เมื่อดวงอาทิตย์ลาลับไป ความมืดที่ปกคลุมม่านฟ้าก็พอทำให้แสงดาวแพรวพราวได้บ้าง แต่ในเวลาที่ดวงจันทร์ทอแสงนวลขึ้น ถึงเวลานั้น ใครเล่าจะเห็นความสุกสกาวของแสงดาว...
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 72
ขณะนั้นเป็นเวลาบ่าย นางอมราผู้ซึ่งบัดนี้ได้รับพระราชทานตำแหน่งสะใภ้หลวง และให้เฉลิมนามว่า “อมราเทวี” นางประดับกายด้วยผ้าแพรพรรณอันประณีตและเครื่องประดับเลอค่าที่ได้รับพระ ราชทานจากเจ้าเหนือหัว นางค่อยๆก้าวขึ้นสู่วอทองที่ตบแต่งอย่างอลังการ ด้วยท่วงทีงามสง่าดุจนางพญาหงส์ทอง
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 35
ความริษยานั้น เมื่อมันเข้าครอบงำใจบุคคลใด ก็ย่อมทำให้บุคคลนั้นมีจิตใจคับแคบ ทนไม่ได้เมื่อเห็นผู้อื่นได้ดีมีสุขกว่าตน เร่าร้อนอยู่ด้วยไฟแห่งริษยา จากคนที่มีปัญญามาก มีความสง่าผ่าเผย กลับต้องปิดบังซ่อนเร้นการกระทำที่ไม่ซื่อของตน ก็จะกลายเป็นคนอาภัพไร้ยศศักดิ์ในที่สุด