มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
Pure In Body, Speech, And Mind บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ
บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ คุณยายสอนให้อธิษฐานว่า ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ ให้เป็นผู้มีบุญมาก ๆ มีบุญสอนตัวเองได้ สอนให้ทำแต่ความดี ต้องสอนตัวเองได้ทีเดียว จึงจะดี
ความหมายของคำว่าบริสุทธิ์กาย วาจา ใจ คืออะไร
การถวายทาน ถ้าจะให้ได้บุญมาก ทั้งผู้ถวายและพระภิกษุผู้รับจะต้องมีความบริสุทธิ์ทั้งกาย และใจ ยิ่งบริสุทธิ์มากเท่าไรก็ยิ่งบุญมากเท่านั้น
โอวาทจากคุณครูไม่ใหญ่เรื่องเตรียม กาย วาจา ใจ ให้พร้อมก่อนเดินธุดงค์ฯ
เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นง่ายๆ ใครได้เดินในเส้นทางนี้ก็ดี หรือได้มีส่วนร่วมสนับสนุนถวายกำลังใจแด่พุทธบุตรเนื้อนาบุญนี้ก็ดี ล้วนเป็นผู้มีบารมีแก่ๆทั้งสิ้น พอเขาเห็นความสงบเสงี่ยมสง่างามทั้งพระทั้งโยม
กำเนิดอบายภูมิ
อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ เป็นความไม่สะอาดด้วย เป็นตัวการที่ทำให้ไม่สะอาดด้วย ดูก่อนจุนทะ ก็เพราะเหตุแห่งการประกอบด้วยอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ นรกจึงปรากฏ กำเนิดเดียรัจฉานจึงปรากฏ เปตวิสัยจึงปรากฏ หรือว่าทุคติอย่างใดอย่างหนึ่งแม้อื่นจึงปรากฏมีขึ้น
ทำอย่างไรเรียกว่าทำดี
คำถาม : ทำอย่างไรถึงเรียกว่าทำดี
วัดพระธรรมกายจอร์เจียจัดปฏิบัติธรรมชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดปฏิบัติธรรมให้กับชาวท้องถิ่น
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
พระอรหันต์ตุ่ม
ดูก่อนเธอผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย เมื่อเธอได้มีการพบปะกันในระหว่างสองรูปแล้ว สิ่งที่เธอควรประพฤติต่อกันมีอยู่สองสถานคือ ควรกล่าววาจาที่เกี่ยวกับธรรมะอย่างหนึ่ง และเมื่อไม่มีอะไรต้องกล่าวเธอพึงเป็นผู้นิ่งเสีย