พุทธศาสนากับภาษาไทย
พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางด้านภาษาของไทย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร ตอนที่ 2
ศาสนา ศาสนาประจำชาติของกัมพูชาคือศาสนาพุทธ ซึ่งมีผู้สันนิษฐานว่าเปลี่ยนจากศาสนาพราหมณ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากชาวอินเดีย ชาวกัมพูชานับถือศาสนาพุทธร้อยละ 95 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.7 ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดูร้อยละ 0.3
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร
เป็น อยู่ คือ.... วิถีชาวเขมร ในอดีตนั้นชนชาติที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้คือขอม ต่อมาเรียกว่าเขมรจนเป็นกัมพูชาเช่นปัจจุบัน ประชากรที่อาศัยในกัมพูชาส่วนมากเป็นชาวกัมพูชาร้อยละ 96 นอกจากนั้นเป็นชาวเวียดนาม จีน และอื่นๆ
ไทยหนึ่งในประชาคมอาเซียน
เราคืออาเซียน ไทย ราชอาณาจักรไทย “ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” คือสามสถาบันหลักที่เปรียบเสมือนเสาหลักและเป็นศูนย์รวมใจของไทย และหลอมรวมให้ชาติไทยเป็นชาติเอกราชและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่งดงามสืบมาตราบปัจจุบันนี้
ประเทศเนปาล (คีรีนคร)
ประเทศเนปาลเป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ เพราะเป็นแดนประสูติของพระบรมศาสดาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สัมมนาวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
คณะกรรมาธิการ ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา จัดสัมมนา เรื่องวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
ชาวพุทธในยุคปัจจุบันของบังคลาเทศ
ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญคือ ชาวพุทธต้องเป็นชาวพุทธที่แท้จริง มีความรู้ความเข้าใจในคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง โดยต้องศึกษาทั้งปริยัติ และปฏิบัติ เพื่อให้เกิดปฏิเวธ และปัจจัยที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่งก็คือ ชาวพุทธจะต้องมีความสามัคคีกัน เว้นจากการให้ร้ายกัน พระพุทธศาสนาจึงจะมั่นคงอยู่ได้อย่างแท้จริง
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยวัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
วิธีแบ่งแยกบุคคล
บุคคลไม่ได้เป็นคนเลวเพราะชาติ ไม่ได้เป็นผู้ประเสริฐเพราะชาติกำเนิด แต่เป็นคนเลวทรามเพราะกรรม เป็นผู้ประเสริฐก็เพราะกรรมเท่านั้น