อานุภาพเนรุบรรพต
การอยู่ในประเทศที่เหมาะสม เป็นมงคลอันสูงสุด
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ถึงเวลาแล้ว
พระราชาทอดพระเนตรผมหงอกของตน ทรงสลดพระทัยในความเสื่อมของสังขารร่างกาย จึงตัดสินพระทัยออกผนวชเพื่อแสวงหาโมกขธรรม ทรงพระราชทานรางวัลให้ช่างกัลบก และประทานโอวาทแก่พระโอรสว่า "ลูกรัก ผมหงอกเส้นนี้ เสมือนเทวทูตมายืนอยู่ตรงหน้าของพ่อ พ่อได้รับความสุข จากสิริราชสมบัติมามากพอแล้ว ถึงเวลาที่ต้องออกแสวงหาความสุขภายในอันเป็นอมตะ
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - รสแห่งความคุ้นเคย
ความไม่มีโรคภัยไข้เจ็บถือเป็นลาภอันประเสริฐ แม้จะเป็นเศรษฐีมีทรัพย์สมบัติมากมาย แต่หากถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียนแล้ว จะแสวงหาความสุขแบบชาวโลกทั่วไป ก็ได้ไม่เต็มที่ เพราะความผิดปกติของสังขารร่างกาย ดังนั้น พระพุทธองค์จึงตรัสว่า สุดยอดของความมีลาภแบบชาวโลกทั่วไป คือ ขอให้เราเป็นผู้ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ประพฤติธรรม คือ เรื่องสำคัญของชีวิต
สังขารร่างกายของเราก็เช่นเดียวกัน ความแก่ ความเจ็บ ความตายได้คืบคลานเข้ามาในชีวิตเรา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกอนุวินาที โดยที่ตัวเราก็สังเกตไม่ออก เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๖๐ ปี จึงรู้ว่าเราแก่ลงทุกขณะ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องกันไปสู่ความเสื่อมสลาย ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต
วันวิสาขบูชา 2568 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
ตักบาตรใส่บุญ (ตอนที่1)
ประเพณีตักบาตรอยู่คู่กับคนไทยมานาน การตักบาตรมีรายละเอียดที่ควรรู้อย่างไร
กับดัก comfort zone
อยู่ตรงนี้แล้วปลอดภัย ไม่อยากเสี่ยง คอมฟอร์ทโซนคืออะไร เหมือนกบในกะลาหรือไม่
วันวิสาขบูชามีความสําคัญอย่างไร
วันวิสาขบูชามีความสําคัญ คือ เป็นวันเพ็ญเดือนหก ซึ่งตรงกับวันประสูติ ตรัสรูิ และปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันเพ็ญเดือนเดียวกันทั้ง 3 วาระ และได้รับการยกย่องให้เป็นวันสำคัญสากลของโลก
ทำไมชีวิตต้องจบที่ความตาย
คำถาม : ทำไมชีวิตต้องจบด้วยความตายคะ?