พิธีตัดปอยผม ขอขมา มอบบาตรผ้าไตร และพิธีบรรพชาสามเณร 54 รูป ณ ศูนย์อบรมวัดก้างปลา อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช
ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
ศีล ในทางปฏิบัติหมายถึงการงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา กล่าวคือการไม่ทำผิดไม่พูดผิดนั่นเองจัดเป็นศีล ซึ่งจัดเป็นคุณธรรม ที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
รับสมัครพนักงานขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชน
หากคุณเป็นชายมีใจอยากช่วยงานพระพุทธศาสนา ทำงานอยู่ในวัด ขอเชิญมาสมัครเป็นพนักงานขับรถราง เพื่อขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชนวัดพระธรรมกาย สุขใจได้ทั้งงานและบุญ
สามเณร คือ ใคร
สามเณร คือ นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร คือ ผู้สั่งสมบุญเก่ามาในอดีตไว้ดีแล้ว จึงได้มีโอกาสมาบวชฝึกฝนตนเอง
ศีล 5 ความหมายของศีล 5
ศีล 5 คำแปล ความหมาย คำอาราธนา ศีล 5 พร้อมคำแปล วัตถุประสงค์ของการรักษาศีล
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
สามเณร ค่ายจองแชมป์ เรียนพระบาลี ทรงโอวาทปาฏิโมกข์
สามเณร ค่ายจองแชมป์ หมู่กุฏิสามเณรเปรียญธรรม วัดพระธรรมกาย ตั้งใจพากเพียร เขียน อ่านบาลี-ไวยกรณ์ และทรงพระปฏิโมกข์ เป็นต้นบุญต้นแบบเป็นเนื้อนาบุญแก่ชาวโลก
สามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย ร่วมพิธีจุดประทีป ถวายเป็นพุทธบูชา ในดินแดนพุทธภูมิ
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน