ประมวลภาพวันวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย ตอนที่ 1
ประมวลภาพวันวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย ตอนที่ 1 ภาคเช้า พิธีตักบาตร บริเวณ บ้านแก้วเรือนทองของคุณยายฯ ภาคบ่าย พิธีถวายผ้าไตร บาตร และจตุปัจจัยไทยธรรม แด่สามเณรเตรียมอุปสมบทอุทิศชีวิต ภาคค่ำ พิธีเวียนประทักษิณรอบมหารัตนวิหารคด
สักครั้ง 'มากประโยชน์' 'อุปสมบท' 'บวช' มีดีมากกว่าบุญ
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้ในประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ หลาย ๆ ครอบครัวก็จะมีการจัดพิธี "อุปสมบท" หรือ "บวช" บุตรหลานที่เป็นผู้ชาย ที่อายุครบบวชแล้ว เป็น "พระภิกษุ" ซึ่งการบวชหรืออุปสมบทนั้นเป็น "สังฆกรรม" อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา
พิธีเวียนประทักษิณก่อนอุปสมบท สามเณร DCI รุ่นที่ 14
ขอเชิญร่วมพิธีเวียนประทักษิณก่อนอุปสมบท สามเณร DCI รุ่นที่ 14 วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2560 ณ มหาธรรมกายเจดีย์ วัดพระธรรมกาย สอบถาม 092-038-3831
สามเณร คือ ใคร
สามเณร คือ นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร คือ ผู้สั่งสมบุญเก่ามาในอดีตไว้ดีแล้ว จึงได้มีโอกาสมาบวชฝึกฝนตนเอง
รับสมัครพนักงานขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชน
หากคุณเป็นชายมีใจอยากช่วยงานพระพุทธศาสนา ทำงานอยู่ในวัด ขอเชิญมาสมัครเป็นพนักงานขับรถราง เพื่อขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชนวัดพระธรรมกาย สุขใจได้ทั้งงานและบุญ
สามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย ร่วมพิธีจุดประทีป ถวายเป็นพุทธบูชา ในดินแดนพุทธภูมิ
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน
สามเณร ค่ายจองแชมป์ เรียนพระบาลี ทรงโอวาทปาฏิโมกข์
สามเณร ค่ายจองแชมป์ หมู่กุฏิสามเณรเปรียญธรรม วัดพระธรรมกาย ตั้งใจพากเพียร เขียน อ่านบาลี-ไวยกรณ์ และทรงพระปฏิโมกข์ เป็นต้นบุญต้นแบบเป็นเนื้อนาบุญแก่ชาวโลก
ขอเชิญเป็นเจ้าของบุญถวายภัตตาหารพระภิกษุ-สามเณร วัดพระธรรมกายและศูนย์สาขาทั่วโลกทุกวัน
ถวายภัตตาหารพระภิกษุ-สามเณร วัดพระธรรมกายและศูนย์สาขาทั่วโลกทุกวัน กว่า 3,500 รูป ณ หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ วัดพระธรรมกาย โทร. 02-831-1000
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"