ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 62
วาทะของมโหสถในครั้งนี้ เป็นดุจไม้หน้าสามที่ตีแสกลงกลางกระหม่อมของอาจารย์เสนกะเสียจนหน้าคว่ำไม่ เป็นท่า เพราะไม่ว่าใครหากได้ตรองตามสักหน่อย ก็ย่อมจะเห็นชัดว่า คำพูดของอาจารย์เสนกะผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง เพราะในขณะที่กำลังยกตนว่าเป็นบัณฑิตผู้มีปัญญาที่ถึงอย่างไรก็ต้องยอม สวามิภักดิ์ต่อผู้มีทรัพย์อยู่ดี นั่นก็เท่ากับแฝงนัยยะว่า พระราชาเป็นเพียงผู้มีทรัพย์แต่พระองค์หามีปัญญาไม่
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 61
มโหสถบัณฑิต ไม่ได้มองเพียงแค่ในชาตินี้เท่านั้น แต่ได้มองไกลออกไปถึงในภพชาติเบื้องหน้า เพราะเห็นชัดถึงคุณและโทษของทรัพย์ว่า ถ้าหากขาดปัญญาในการใช้สอยแล้ว ก็มีสิทธิ์ที่จะใช้ทรัพย์ไปในทางที่เป็นบาป เช่นนำไปเสียให้กับอบายมุข นำไปดื่มสุรา เล่นการพนัน และเที่ยวกลางคืนเป็นต้น ทรัพย์นั้นแทนที่จะเรียกได้ว่าเป็นทรัพย์สมบัติ แต่จะกลายเป็นทรัพย์วิบัติไป เพราะนำความวิบัติมาให้ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
อานิสงส์ของการให้ที่พักและที่สร้างวัด-ที่นี่มีคำตอบ
การที่ลูกหาสถานที่พักให้พระภิกษุและอุบาสกระหว่างเรียน และหาสถานที่สร้างวัดไทยนางาโน่ ประเทศญี่ปุ่น และบุญที่ได้ใช้บ้านเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม จะมีอานิสงส์อย่างไรบ้าง
ทางลัด ในการเข้าถึงธรรม
การฝึกสมาธิ จนมีสภาพใจที่รวมหยุดนิ่งนั้น อาจเป็นเรื่องยากสำหรับหลายคน เพราะกว่าใจจะรวมเป็นหนึ่งจนได้ปฐมฌาน (เข้าถึงดวงปฐมมรรค) ต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ ไปตามลำดับขั้นก่อน ซึ่งเราเรียกขั้นตอนนั้นว่า “องค์แห่งฌาน”
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์(ทานปรมัตถบารมี)
เมื่อให้ทานอันเลิศ บุญอันเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตกทุกข์ก็สุขได้
ทุกฺเข สุขานิ วินฺทติ คนมีปัญญา เมื่อถึงคราวตกทุกข์ ก็ยังหาสุขได้ (๒๗/๒๔๔๔)
ผู้ชนะความโกรธ
ผู้ไม่โกรธ ฝึกฝนตนแล้ว มีความเป็นอยู่สม่ำเสมอ หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้ชอบ สงบ คงที่อยู่ ความโกรธจักมีมาแต่ที่ไหน ผู้ใดโกรธตอบบุคคลผู้โกรธแล้ว ผู้นั้นเป็นผู้ลามก
จงอย่าทำร้ายผู้อื่นในทุกกรณี
เมื่อไม่ต้องการได้รับทุกข์โทษต่างๆ และไม่ต้องการเวรภัยอะไรกับใคร ก็อย่าไปทำร้ายใคร รวมทั้งอย่าไปติดร้ายใคร
อานิสงส์ของการฟังธรรม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการฟังธรรม 5 ประการนี้ 5 ประการเป็นไฉน ?
ต่างกันไหม คนที่ให้ทานกับไม่ให้ทาน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสุมนา คนทั้งสองนั้นพึงมีความพิเศษแตกต่างกัน คือ ผู้ให้เป็นเทวดาย่อมข่มเทวดาผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตยที่เป็นทิพย์