อนิจจังไม่เที่ยง
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าคนไทยชอบใช้คำว่าอนิจจังไม่เที่ยง เพื่อปลอบใจให้คลายทุกข์โศกพอสบายใจแล้วก็ปล่อยปะละเลยไม่กระตือรือร้น ควรจะแก้ไขอย่างไรดีคะ
ด่วน! ข้อชี้แจ้งเรื่องโครงการพระไตรปิฎก
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวอ้างว่า วัดพระธรรมกายจะทำการเปลี่ยนแปลงข้อความในพระไตรปิฎก เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
วัดพระธรรมกายปาล์มบีช จัดกิจกรรม Mindful Relaxation Meditation
วัดพระธรรมกายปาล์มบีช ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดกิจกรรม Mindful Relaxation Meditation สำหรับชาวท้องถิ่น
สู้จนกว่าจะชนะ
บัณฑิตในกาลก่อน แม้ถือกำเนิดในสัตว์เดียรัจฉาน ได้กระทำความเพียรจนได้รับบาดเจ็บเห็นปานนี้ แต่ก็ไม่ละความเพียร ส่วนเธอออกบวชในศาสนานี้ ที่จะนำออกจากทุกข์ได้ เพราะเหตุไรเล่า จึงละความเพียรเสีย
ค่ายมือถือขานรับ 1 กันยายนใช้เลขหมาย 10 หลัก
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ศาสดาเอกของโลก (2)
ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่า เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็วิบากอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้ที่เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ...
The Noble Truth of the Path to the Cessation of Suffering # 6
The Three Signs of Existence [tilakkhana] that are exhibited by all material things are impermanence [aniccam], suffering [dukkham] and not –self [anatta]
The Four Noble Truths : 1. Explanation of the Noble Truth of Suffering
The Lord Buddha’s explanation of suffering includes all four of suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths: