วัดพระธรรมกายโจฮันเนสเบิร์ก เปิดคลาสสอนสมาธิชาวท้องถิ่น
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา วัดพระธรรมกายโจฮันเนสเบิร์ก เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เปิดคลาสสอนสมาธิชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย จัดปฏิบัติธรรมเมืองเนินแบรก
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ เมืองเนินแบรก (Nürnberg)
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย จัดปฏิบัติธรรม เมืองเรเกนสบวร์ก
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ เมืองเรเกนสบวร์ก (Regensburg) ประเทศเยอรมนี
World news ประจำวันที่ 1 เมษายน 2556
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี จัดปฏิบัติธรรม บ้านกัลยาณมิตร ณ เมืองเด้กเก้นดอร์ฟ (Deggendorf)และวัดพระธรรมกายฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดพิธีทอดผ้าป่าเพื่อสร้างอาคารสมปรารถนา และพิธีถวายสังฆทานอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
อานิสงส์ถวายเครื่องอัฏฐบริขาร
มหาสมุทรไม่อิ่มด้วยน้ำที่ไหลมาจากทุกทิศทุกทาง ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ พระราชาไม่ทรงอิ่มด้วยราชสมบัติ คนพาลไม่อิ่มด้วยบาป หญิงไม่อิ่มด้วยของ ๓ อย่าง คือ เมถุนธรรม เครื่องประดับ และการคลอดบุตร พราหมณ์ไม่อิ่มด้วยมนต์ ผู้ได้ฌานไม่อิ่มด้วยวิหารสมาบัติ คือการเข้าฌาน พระเสขะไม่อิ่มด้วยการสละออกในการให้ทาน
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
คำถวายสะพานบุญทรัพย์อนันต์