พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๓
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเน้นให้พระภิกษุสงฆ์มุ่งแสวงหาความสงบวิเวก แสวงหาความบริสุทธิ์ เพื่อที่จะทำพระนิพพานให้แจ้ง เมื่อแจ้งแล้ว จะได้เป็นแสงสว่างต่อไป ไม่ทรงให้หลงใหลในลาภสักการะ ซึ่งเป็นเพียงเปลือกนอก ไม่ใช่สาระแก่นสารที่แท้จริง แก่นสารที่แท้จริง คือ ต้องทำพระนิพพานให้แจ้ง ต้องให้รู้แจ้งเห็นจริงในชีวิต
ศิลา…อาถรรพ์
พระภิกษุรูปหนึ่ง ท่านรักในการอยู่ธุดงค์ ปลีกวิเวก...เมื่อครั้งที่ท่านได้เดินทางไปที่วัดเก่าแก่แห่งหนึ่ง ท่านได้ไปพบหินสีดำ มีลักษณะคล้ายเสมา จึงเอ่ยปากขอลอยๆ แล้วนำติดตัวกลับมาวัดที่ท่านพำนักอยู่...หลังจากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ผิดธรรมชาติหลายอย่าง และเมื่อเวลาท่านนั่งสมาธิ ท่านยังเห็นนิมิตประหลาดอีกด้วย...7วันต่อมา ในขณะที่สาธุชนราว 30ชีวิต กำลังร่วมกันปฏิบัติธรรม ได้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองอย่างน่ากลัว ผู้คนพากันแตกตื่น หอฉันซึ่งยังสร้างไม่เสร็จได้พังลงมา
พรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้
ใจหยุด สุดยอดปาฏิหาริย์
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ คืออิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ภิกษุนั้นแล เป็นผู้สำเร็จถึงที่สุด เป็นผู้ประเสริฐกว่าเทวดา และมนุษย์ทั้งปวง
กุมภชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของสุรา
“ หม้อใบนี้เป็นหม้อที่มีโทษมาก ผู้ใดดื่มน้ำในหม้อนี้จะเสียผู้เสียคน ควบคุมสติไม่ได้ ทั้งแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม บ้างก็เหมือนคนบ้า บ้างก็ด่าทอทะเลาะวิวาท ด่าบิดามารดา ฆ่าสมณะชีพราหมณ์ได้ น้ำในหม้อใบนี้เป็นน้ำสุรา หากประสงค์จะเห็นความพินาศของตนและบ้านเมือง ก็จงซื้อไปดื่มเถิด ”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
ถึงพระรัตนตรัยอยู่ไกลก็เหมือนใกล้
บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นก็เป็นอันละไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่มาถึง ก็เป็นอันยังไม่ถึง... ความเพียรควรทำเสียในวันนี้แหละ เพราะใครเล่า จะพึงรู้ว่า ความตายจะมีในวันพรุ่งนี้ การผัดเพี้ยนต่อพญามัจจุราชผู้มีเสนาใหญ่นั้นย่อมไม่มี มุนีผู้สงบระงับ ย่อมกล่าวสรรเสริญบุคคลผู้มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ มีความเพียรเผากิเลส ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร โดย พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.9 อภิธรรมมหาบัณฑิต, พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.9, พระมหา ดร.สุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, พระ ดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล