เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
มงคลที่ ๑๙ งดเว้นจากบาป - บาปแม้น้อยนิด อย่าคิดทำ
เรื่องของพระอรหันต์รูปหนึ่งผู้มีรูปร่างเตี้ย เพราะกรรมที่ทำไว้ในอดีต แต่ท่านก็ได้รับการยกย่องจากพระบรมศาสดาว่า เป็นผู้แสดงธรรมได้ไพเราะที่สุด เรื่องของท่านมีอยู่ว่า
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง คือตัวนำไปสู่ความตาย "อนิจจาปลาใหญ่คร่ำครวญถึงแต่นางปลาสาว มิได้รู้สึกกลัวความตายที่อยู่ตรงหน้าสักนิด"
พิธีมอบสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโคราช
ชมรมสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในอุปถัมภ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มอบสื่อการเรียนรู้วิชา
ปัณฑรกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษการเปิดเผยความลับแก่ผู้อื่น
ปลายพุทธกาลวาระหนึ่ง เมื่อภิกษุในธรรมสภาปรารภถึงพระเทวทัตเถระซึ่งถูกทรณีสูบลงไปยังยมโลกเหตุเพราะก่อพุทธประหาร เทวทัตซึ่งนับเป็นพระญาติอันมากด้วยริษยาต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้นี้ทรยศหักหลังมิตร
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
พระบัณฑิต DOU รุ่นแรกของโลก (8)
มีญาติโยมถามกระผมว่า เรียน DOU ยากไหม กระผมขอตอบได้เลยครับว่า ไม่ยาก เพราะกระผมเป็นเจ้าอาวาสมีภารกิจต้องดูแลบริหารวัด ต้องเทศน์สอน พร้อมๆกับทำกิจวัตร กิจกรรมของพระไปด้วย แต่กระผมก็เรียน DOU ได้จนจบ เพราะการเรียน DOU ไม่ได้เป็นภาระ แต่เป็นสิ่งที่ช่วยให้กระผมทำหน้าที่ของความเป็นพระได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น DOU ทำให้กระผมได้ทบทวนความรู้ที่เคยศึกษามาแล้ว
มหาอุกกุสชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกมิตร
บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข เรากำจัดศัตรูได้ด้วยกำลังแห่งมิตร เป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”
กุกกุรชาดก-ชาดกว่าด้วยการสงเคราะห์ญาติ
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาลพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายนั่งสนทนากันอยู่ ณ เชตะวันมหาวิหาร ถึงเรื่องที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงช่วยให้พระประยูรญาติจำนวนมากได้บรรลุธรรมถึงความพ้นทุกข์ และในจำนวนนั้นมีพระประยูรญาติหลายพระองค์ได้มาเป็นกำลังใจในการเผยแพร่แผ่พระพุทธศาสนา