วันออกพรรษา 2567 ประวัติวันออกพรรษา วันออกพรรษามีความสำคัญอย่างไร
วันออกพรรษา 2567 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีนี้ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2567 ประวัติความเป็นมาของวันออกพรรษาเป็นอย่างไร เกิดอะไรขึ้นในวันออกพรรษาเมื่อสมัยครั้งพุทธกาล ข้อมูลวันออกพรรษาที่น่าสนใจหลายอย่าง รวมถึงบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”
กัจจานิโคตตชาดก ชาดกว่าด้วยในการไหน ๆ ธรรมย่อมไม่ตาย
" ธรรมะคงตายไปจากโลกนี้แล้ว ไม่อย่างนั้นคนจิตใจชั่วอย่างสะใภ้ของเราคงไม่มีลูก และคงไม่มีความสุขเช่นนี้ ” วันหนึ่งหญิงชราได้นำข้าวของได้แก่ งา แป้ง ข้าวสาร ทัพพี ถาด และศีรษะมนุษย์ที่ตายแล้ว ๓ ศีรษะมาทำเตาไฟ เพื่อทำพิธีถวายมตกภัตแก่ธรรมในป่าช้า ด้วยเข้าใจว่าธรรมได้ตายไปแล้ว นางเริ่มก่อไฟแล้วลงน้ำสระผม บ้วนปาก สยายผม จากนั้นจึงเริ่มซาวข้าวเพื่อถวายมตกภัตแก่ธรรม
คังเคยชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ชอบโอ้อวด
ครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหารได้เกิดเรื่องไม่งามในหมู่สงฆ์ขึ้น เรื่องไม่งามนั้นก็คือ มีภิกษุ 2 รูปผู้เป็นกุลบุตรชาวเมืองสาวัตถี เมื่อบวชในศาสนาแล้วก็ไม่ได้บำเพ็ญอสุภะภาวนา ชอบสรรเสริญรูป เที่ยวพร่ำเพ้อแต่เรื่องรูป
กายนิพพินทชาดก ชาดกว่าด้วยความเบื่อหน่ายร่างกาย
รุ่งเข้าวันหนึ่ง ชายป่วยได้ตื่นเช้ากว่าปกติ เขาหันหน้าออกไปทางหน้าต่างเพื่อรับอากาศบริสุทธิ์ เขามองออกไปดูวิถีชีวิตของชาวบ้าน พลันสายตาก็เหลือบไปเห็นพระภิกษุสงฆ์ออกมาบิณฑบาต แล้วเขาก็เกิดความคิดอย่างหนึ่ง “ จริงสินะ ชีวิตมันไม่เที่ยงจริง ๆ สังขารย่อมร่วงโรยเป็นธรรมดา ถ้าเราหายจากโรคนี้เราจะบวช ”
ผลชาดก ชาดกว่าด้วยความสามารถในการดูผลไม้
ณ นครสาวัตถี นอกฤดูพรรษาหนึ่งก่อนที่เหล่าภิกษุสงฆ์จะออกจาริกไปเผยแผ่พระพุทธธรรมตามนิคมแว่นแคว้นต่าง ๆ ชาวพระนครก็มักกราบอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จรับภัตตาหารที่บ้านเรือนตนอยู่มิได้ขาด ครั้งหนึ่งทรงรับนิมนต์คหบดีเจ้าของสวนผลไม้ จึงเสด็จนำหมู่ภิกษุสงฆ์ไปตามการอาราธนานั้น ชาวสวนผลไม้จัดพระพุทธอาสนะให้พระพุทธองค์ประทับภายในเคหสถานของตนพร้อมกับพระเถระผู้ใหญ่
มัจฉทานชาดก ชาดกว่าด้วยการให้ข้าวเป็นทานแก่ปลา
เมื่อมานพผู้พี่เอาเศษอาหารให้ปลาแล้ว ก็ตั้งจิตอธิษฐานอุทิศส่วนกุศลให้แก้เทพยดาฟ้าที่สิงสถิตอยู่ในแม่น้ำแห่งนี้ ส่วนเทวดาผู้รักษาน้ำได้อนุโมทนารับส่วนกุศล ที่มานพผู้พี่อุทิศมาให้ ลาภยศอันเป็นทิพย์ก็บังเกิดขึ้นแก่ตน พ่อค้าผู้พี่เมื่ออุทิศส่วนกุศลเรียบร้อยแล้วก็เอาผ้าห่อปูริมแม่น้ำลงนอนพักหลับไป
ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ
พิธีตักบาตรเทโวโรหณะ ในช่วงเทศกาลออกพรรษาในแต่ละท้องถิ่น แต่ละภูมิภาค ก็จัดกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้องถิ่นของตนเองประเพณีที่สำคัญ
ชาดกเกี่ยวกับอานิสงส์ของการรักษาศีล
เรื่อง "สีลานิสังส์สชาดก" ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภอุบาสกผู้มีศรัทธาคนหนึ่งที่สามารถเดินข้ามแม่น้ำอจิรวดีไปฟังธรรมได้ด้วยอำนาจคุณของศีล ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า...
พุทธชิโนรส (๖)
ดูก่อนมารผู้กระทำซึ่งที่สุด ตัวท่านเป็นผู้ที่เรากำจัดเสียแล้ว ชนเหล่าใดสำรวมดีแล้ว ด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ชนเหล่านั้น ไม่เดินตามหลังมาร