มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๗ ( ความจริงปรากฏ )
ครั้นเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตรของพระราชา ไม่ได้สดับธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์หลายวัน และรู้ว่ามโหสถถูกกลั่นแกล้ง คนดีเทวดาต้องคุ้มครองรักษา พระราชาพระองค์นี้เป็นคนหูเบา มีปัญญาน้อย ไม่รู้จักเลือกใช้คนให้เป็น อาศัยกินบุญเก่าเท่านั้นถึงได้มาบังเกิดเป็นพระราชา เทวดาจึงคิดหาวิธี ที่จะให้มโหสถกลับมาอยู่ในราชสำนักตามเดิม เพื่อตนจะได้ฟังธรรมของมโหสถอีก
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(3)
บุคคลย่อมบังเกิดในขัตติยตระกูลเพราะพรหมจรรย์ขั้นต่ำ บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นเทวดาเพราะพรหมจรรย์ชั้นกลาง และบุคคลย่อมบริสุทธิ์ เพราะพรหมจรรย์อย่างสูงสุด
ประเภทของสมาธิ
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ยอมรับความจริงกันดีกว่า
พระราชาไม่ทรงเชื่อ จึงท้าให้พระดาบสนำหนอนมาให้ดูก่อน พระองค์จึงจะยอมเชื่อ พระดาบสใช้อานุภาพของท่าน บังคับให้หนอนสองตัวที่กำลังชอนไชหาอาหารอยู่ในมูลโค ออกมาปรากฏต่อหน้าพระราชา พลางทูลว่า “ข้าแต่มหาราช พระเทวีอุพพรีนี้ได้จากพระองค์ไปแล้ว บัดนี้กำลังเดินตามหลังหนอนตัวผู้ ขอพระองค์จงทอดพระเนตรเถิด”
ศีลศัลยกรรม
“คนมีศีล ย่อมได้รับอานิสงส์ 5 อย่าง คือ พรั่งพร้อมทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงฟุ้งขจรไปทั่ว มีความอาจหาญในการเข้าสู่สมาคม เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ ละโลกแล้วเข้าถึงสุคติสวรรค์”
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอน บ่อเกิดของมารยาทไทย
เรามักเข้าใจกันว่า มารยาทเป็นเรื่องของการปรับตัวให้เข้ากับสังคมเพื่อความงดงามน่าดู เพื่อการยอมรับเข้าเป็นหมู่คณะเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมีเรื่องเบื้องหลังลึกซึ้งเกี่ยวกับต้นบัญญัติมารยาทที่เรายอมรับกันอยู่ในปัจจุบันนี้...
บทสรุปของสวรรค์ทั้ง 6 ชั้น
สวรรค์แต่ละชั้นมีความแตกต่างกันตามกำลังแห่งบุญที่ตนได้สั่งสมไว้ครั้งเป็น มนุษย์ ยิ่งสวรรค์ชั้นที่สูงขึ้นไปมากเท่าไร ยิ่งมีทิพยสมบัติอันวิจิตรอลังการมากขึ้นไปเท่านั้น
โรคที่หลังและสะโพก-หมวดโรคภัยไข้เจ็บ
โรคที่หลัง / สะโพก ประกอบด้วย ปวดหลัง หลังแข็ง หลังหัก หลังค่อม ถูกสะเก็ดระเบิดที่หลัง กระดูกหลังคด กระดูกสันหลังผุ สิวขึ้นเป็นๆหายๆ สะโพกปวดบวม สะโพกหลุด และเริมที่สะโพก
เราเชื่อมั่นในความบริสุทธิ์ของหลวงพ่อธัมมชโย
การที่คณะศิษย์มีความเชื่อมั่นในความบริสุทธิ์ของหลวงพ่อนั้นมิได้เกิดขึ้นลอย ๆ แต่มีสาระสำคัญ ๒ ประการรองรับ คือ ๑. การได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน ๒. การพิสูจน์ด้วยตนเอง
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 2
เอกาสะนิกังคะ คือ ถือการฉันในอาสนะเดียวเป็นวัตรหรือที่เรียกกันว่า ฉันเอกา หมายถึง การฉันภัตตาหารเพียงมื้อเดียวต่อวันเท่านั้นโดยพระภิกษุที่ถือปฏิบัติอย่างอุกฤษฏ์หรืออย่างเข้มงวด จะรับภัตตาหารเฉพาะในช่วงก่อนที่จะลงมือฉันเท่านั้น