ยุทธศาสตร์ชีวิต-พิชิตใจตน
ยุทธศาสตร์ของชีวิต คือ 1. ตั้งเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน มีศรัทธา 2. มีวินัยกำกับตัวเองให้มุ่งตรงต่อเป้าหมายนั้น ฝันให้ไกล ต้องทำให้ถึงด้วย ถึงจะถึงที่ฝัน 3. แสวงหาความรู้เพื่อจะได้นำไปสู่เป้าหมายนั้นได้จริงๆ 4. รู้จักสละอารมณ์ที่ไม่ดีออกไปจากใจ อย่าไปติดใจประเด็นเล็กๆ จนทำให้เราเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย 5. มีปัญญาในการนำสรรพกำลังทั้งปวงมาทุ่มเทแก้ปัญหา
อย่างแรง อุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน
เกาะติดสถานการณ์ชวนบวชอุบาสิกาแก้วห้าแสนคน
อเมริกาเร่งบุญสุดแรง ขอแซงแค่แชมป์
เร็ว แรง ดี ... สโลแกนนี้ต้องยกให้ ขุนรบจากฝั่งทวีปอเมริกา ซึ่งพระอาจารย์ทุกรูป ผู้นำบุญทุกท่าน ขยันทำหน้าที่ในทุกรูปแบบ ทั้งการประชาสัมพันธ์ทางทีวีและหนังสือพิมพ์ มีการอัพเดทยอดกันทุกสัปดาห์ และเป้าหมายที่จะไปให้ถึงคือ 12,000 องค์
พายุไต้ฝุ่นโรคี กระหน่ำญี่ปุ่น อพยพล้านกว่าคน
พายุไต้ฝุ่นโรคี กระหน่ำญี่ปุ่น อพยพล้านกว่าคน พายุไต้ฝุ่นโรคี พัดถล่มประเทศญี่ปุ่น แรง 216 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แรงพายุไต้ฝุ่นโรคีในครั้งนี้ต้องอพยพชาวญี่ปุ่นกว่า 1.3 ล้านคน
AZUSA ประชุมเตรียมงานวิสาขบูชานานาชาติ
การจัดงานวิสาขบูชานานาชาติ ได้ดำเนินมาเป็นปีที่ 11 แล้ว
สอบ World-pec จ.ศรีษะเกษ
จากศูนย์สอบทางภาคใต้ เราไปชมภาพบรรยากาศการสอบ World-pec กันต่อที่ภาคอีสานกันที่ศูนย์สอบโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
มารย่อมไม่สามารถทำลายบุคคล
มารย่อมไม่สามารถทำลายบุคคล ผู้ไม่ตกเป็นทาสของความสวยงาม รู้จักควบคุมการแสดงออก รู้ประมาณในโภชนาหาร มีศรัทธา และมีความขยันหมั่นเพียร เหมือนลมไม่สามารถพัดโค่นภูเขา
ลาสิกขาเถอะลูก
โยมพ่อโยมแม่ชวนให้กระผมลาสิกขา ท่านให้เหตุผลว่า เป็นห่วงพระ อยากให้ไปเรียนต่อให้จบเสียก่อน แล้วค่อยกลับมาบวชใหม่ อย่างนี้ท่านจะมีวิบากกรรมไหมครับ
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๖)
ยอดนักสร้างบารมีทั้งหลายในกาลก่อน กว่าที่ท่านจะประสบความสำเร็จในชีวิตได้นั้น ต้องชิงช่วงชีวิตในการสร้างบารมี เป็นผู้ที่ไม่ประมาทในขณะที่ผู้อื่นประมาทอยู่ เป็นผู้ตื่นอยู่ในขณะที่ผู้อื่นหลับใหล การสร้างบารมีแบบชิงช่วงนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะต้องอาศัยกำลังใจอันสูงยิ่ง ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้น
แนวทางการดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จของชาวพุทธเป็นอย่างไร?
มนุษย์ทุกคนต่างก็หวังที่จะประสบความสำเร็จในชีวิตด้วยกันทั้งนั้น แต่การจะดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จได้ มีหลักปฏิบัติเบื้องต้น ๒ ประการ คือ...