เนรุชาดก ชาดกว่าด้วยอานุภาพของเนรุบรรพต
หงส์สองพี่น้องได้บินท่องเที่ยวผ่านไปทางภูเขาเนรุบรรณพต ซึ่งเนรุบรรพตแห่งนี้เป็นภูเขาวิเศษสัตว์ใด ๆ ก็ตามเมื่อเข้ามาอยู่ที่นี่จะมีสีสันสวยงาม ดั่งทองทุกตัว “ น้องเอ๋ย สัตว์สกุลใดจิตและพฤติกรรมก็ย่อมเป็นไปตามสัญชาติญาณ ตนไม่อาจเปลี่ยนสีได้อย่างภายนอกหรอก ” หงส์ผู้พี่ได้กล่าวกับน้องของตน
สัพพาทาฐิชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีบริวารมากเป็นใหญ่ได้
ปุโรหิตผู้หนึ่งของพระเจ้าพรหมทัตได้ฝึกซ้อมสาธยายมนต์ที่ชื่อว่า ปฐวีวิชัยมนต์ ปรากฎว่ามีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งแอบได้ยินและสามารถจดจำมนต์นั้นได้ และคิดการใหญ่โดยได้ยกกองทัพสัตว์เดรัจฉานหมายทำการรบกับพระเจ้าพาราณสีหวังจะแย่งชิงราชบัลลังค์
ขุรปุตตชาดก ชาดกว่าด้วยการทำตนให้ไร้ประโยชน์
พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ถูกภรรยาเก่าโลมเร้า แล้วทรงซักถามภิกษุนั้น “ จริงหรือภิกษุ ได้ทราบว่าเธอกระสันอยากสึก ” “ จริงพระเจ้าค่ะ ” “ เธอกระสันอยากสึกเพราะเหตุอะไร ” “ เพราะภรรยาเก่าพระเจ้าค่ะ ” “ ดูกรภิกษุหญิงนี้ทำสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เธอไม่เฉพาะในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อนเธอกำลังจะกระโดดเข้าไฟตายเพราะอาศัยหญิงนี้ แต่อาศัยบัณฑิตจึงได้ชีวิตไว้ ”
กกัณฏกชาดก ชาดกว่าด้วยกิ้งก่าได้ทรัพย์
พระราชาได้เสด็จไปยังพระราชอุทยาน ก็ทรงมองหาเจ้ากิ้งก่าตัวนั้น “ มโหสถ เจ้ากิ้งก่าตัวนั้นมันหายไปไหนสะแล้วล่ะ ” “ มันอยู่บนเสานั้นแหละพระเจ้าค่ะ ” เจ้ากิ้งก่านั้น แม้เห็นว่าพระราชาทรงเสด็จมา ก็ไม่ได้ลงจากปลายเสาค่าย เพื่อทำความเคารพพระราชาเช่นเดิม ด้วยเพราะมันเข้าใจว่าตนเองมีทรัพย์เสมอพระราชา มันจึงทำตนเสมอพระราชาด้วย
ชาตินี้ ชาติหน้า
ทำไมสมัยก่อนผู้คนจึงไม่สงสัยเรื่องชาติหน้า แต่ปัจจุบันสงสัยและคิดว่าเป็นเรื่องงมงาย ? เรื่องของภพชาติมีรายละเอียดอย่างไรบ้าง ?
วีณาถูณชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องรักคนผิด
ณ บ้านเศรษฐีแห่งหนึ่งในกรุงสาวัตถี ผู้เป็นธิดาได้เจริญวัยเข้าสู่วัยสาว มีรูปโฉมงดงามยิ่งกว่าใครๆ ในหมู่บ้าน ล้วนเป็นที่หมายปองของชายที่พบเห็น มีชายมากมายมาสู่ขอธิดาผู้นี้จากเศรษฐี แต่ท่านก็ไม่ได้ยกให้ใคร
กาฬยมุฏฐิชาดก ชาดกว่าด้วยโลภมาก
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระเจ้ากรุงโกศลแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ ครั้งนั้นในช่วงฤดูฝนได้เกิดการการกบฏขึ้นทางชายแดนของแคว้นโกศล
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ความเป็นผู้ใหญ่
ความเป็นผู้ใหญ่ไม่ได้วัดแค่การเกิดก่อน หรือมีร่างกายเติบใหญ่ การรู้จักกาล รู้จักพูด รู้จักควรไม่ควร รู้จักให้อภัย ไม่มีอคติลำเอียง มีดวงปัญญาทำกิจต่าง ๆ ได้สำเร็จลุล่วง
สูกรชาดก ชาดกว่าด้วยสุกรท้าสู้ราชสีห์
ราชสีห์ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในถ้ำ วันหนึ่งมันเดินไปกินน้ำในสระ ซึ่งเป็นที่รวมของบรรดาสัตว์ทั้งหลาย เพื่อมากินน้ำ ระหว่างน้ันมันมองเห็นหมูตัวหนึ่งเที่ยวหากินอยู่ริมสระ มันจึงเดินหลบไป กลัวหมูจะเห็น และเกรงว่าวันถัดไปหมูจะไม่กล้ามาที่สระน้ำอีก เจ้าหมูเหลือบไปเห็นเข้าพอดี ก็เกิดความเข้าใจผิดคิดว่าราชสีห์กลัวตน จึงวิ่งเข้าไปท้าทายขอต่อสู้กับราชสีห์
บูชายัญ บูชายัญคืออะไร บูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
บูชายัญคืออะไร คนเราจะโชคดีจากการเข่นฆ่า ทำร้ายผู้อื่น บูชายัญได้หรือไม่ การบูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร