มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญคือฉากหลังของทุกชีวิต
เรื่องราวของพระอุบาลีเถระ เป็นพระเถระผู้มีชื่อเสียงมากในสมัยพุทธกาล ตัวของท่านได้รับแต่งตั้งจากพระบรมศาสดาให้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย มาติดตามกันเลยว่าท่านได้กระทำเหตุไว้อย่างไรจึงได้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย
รักษาใจเพียงหนึ่งเดียว
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้แสนยาก ที่ละเอียดยิ่งนัก มักตกไปในอารมณ์ตามความปรารถนา เพราะจิตที่รักษาไว้ได้ดีแล้ว เป็นเหตุนำความสุขมาให้
ยุทธศาสตร์ชีวิต-พิชิตใจตน
ยุทธศาสตร์ของชีวิต คือ 1. ตั้งเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน มีศรัทธา 2. มีวินัยกำกับตัวเองให้มุ่งตรงต่อเป้าหมายนั้น ฝันให้ไกล ต้องทำให้ถึงด้วย ถึงจะถึงที่ฝัน 3. แสวงหาความรู้เพื่อจะได้นำไปสู่เป้าหมายนั้นได้จริงๆ 4. รู้จักสละอารมณ์ที่ไม่ดีออกไปจากใจ อย่าไปติดใจประเด็นเล็กๆ จนทำให้เราเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย 5. มีปัญญาในการนำสรรพกำลังทั้งปวงมาทุ่มเทแก้ปัญหา
บุพกรรมใดที่ทำให้มีพ่อติดสุราและยากจน
บุพกรรมใดทำให้คุณแม่และลูกๆ มีคุณพ่อที่ติดสุรา และมีฐานะยากจน เราเคยเกี่ยวพันกันมาอย่างไรในอดีตชาติ จึงมาเกิดร่วมกันคะ
การนั่งสมาธิแม้ว่าไม่สามารถทำใจให้นิ่งได้จะมีอานิสงส์บ้างไหม
ตอนนั่งสมาธิ แม้กำหนดนิมิตไม่ได้ แต่รักษาศีลได้ครบก็ได้บุญ ถ้ากำหนดนิมิตได้ ทำใจให้นิ่งได้ก็จะได้บุญมากขึ้น แต่ถึงจะกำหนดไม่ได้ ก็ได้บุญไปตามส่วน ที่ไม่ได้เลยเป็นไม่มี
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต
สังเกตคนดีที่ความประพฤติ
บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป (คือ อายตนนิพพาน) ต้องตามรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองภาชนะน้ำมันที่เต็มเสมอขอบปากที่ไม่พร่องไว้ฉะนั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๖ )
พระราชาสดับเช่นนั้น ทรงปฏิเสธทันทีว่า "ลูก เอาทรัพย์ไปใช้เช่นนี้ไม่เกิดประโยชน์เลย เลิกให้ทานเถิดลูก ลูกควรจะนำทรัพย์ที่พ่อจะให้นี้ ไปใช้จ่ายเที่ยวเล่นสนุกสนานให้เต็มที่ ไม่ต้องไปคิดถึงใคร และภพชาติต่อไปก็อย่าไปกังวล ลูกจงเก็บเกี่ยวความสุขในชาตินี้ให้เต็มที่เถิด"
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้
Today I have some questions about the meaning of a Buddhist word. The word “Sila” (precepts) has many facets: the 5 precepts, the 8 precepts, the 10 precepts, and the 227 precepts. How important are the precepts? Why do we need to keep the precepts?
Today I have some questions about the meaning of a Buddhist word. The word “Sila” (precepts) has many facets: the 5 precepts, the 8 precepts, the 10 precepts, and the 227 precepts. I would truly like to know what the word “Sila” (precept) means. How important are the precepts? Why do we need to keep the precepts?