คำขวัญวันเด็ก 2568 รวมคำขวัญวันเด็กทุกปี
คำขวัญวันเด็ก คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ 2568 คำขวัญวันเด็กที่ผ่านมาทุกปี ประวัติความเป็นมาของวันเด็ก กิจกรรมวันเด็กปีนี้
วันอัฏฐมีบูชา ประวัติความสำคัญธรรมเนียมปฏิบัติในวันอัฏฐมีบูชา
วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลังจากเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ 8 วัน
วันเด็กแห่งชาติ 2568 รวมประวัติและคำขวัญวันเด็กแห่งชาติทุกปี
วันเด็กแห่งชาติปีนี้ตรงกับวันเสาร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ.2568 ประวัติวันเด็ก คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ 2568 คืออะไร กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติปีนี้จัดที่ไหน มีอะไรบ้าง
กาสาวชาดก ชาดกว่าด้วยผ้ากาสาวพัสตร์
พญาช้างอยากลงโทษให้พรานชั่วให้ตายตกไปตามชีวิตบริวารของตน แต่เห็นแก่ผ้าเหลืองกาสาวพัสตร์ในพระพุทธศาสนา จึงลงโทษสถานเบาให้เข็ดหลาบ แล้วปล่อยให้พรานออกจากป่าโดยให้พรานตั้งสัตย์ปฏิญาณว่าจะเลิกฆ่าสัตว์ตัดชีวิตและตั้งอยู่ในศีลธรรม อันดีตลอดไป
กุททาลชาดก ชาดกว่าด้วยความชนะที่ดี
ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์เมื่อเบื่อชีวิตปุถุชนก็เอาจอบฝั่งดินไปเป็นฤาษี ครั้นเบื่อหน่ายเพศบรรพชิตก็สึก เป็นเช่นนี้มา ๖ ครั้งแล้ว สุดท้ายข้าพระองค์ได้นำตัวตั้งของกิเลส คือจอบคู่ชีวิตเล่มนี้ขว้างทิ้งลงแม่น้ำ ข้าพระองค์หันหลังเขวี้ยงมันไป เพื่อจะได้ไม่พบเห็นจุดที่มันจมอยู่อีกต่อไป และข้าพระองค์ก็ตัดขาดกิเลสกับมันแต่บัดนั้น
พระพุทธศาสนากับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับภาษาไทย
พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางด้านภาษาของไทย
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระมหาธีรราชเจ้าของชาวสยาม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นชาวไทยคนแรกที่ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นพระอุปัชฌาย์ เสด็จประทับจำพรรษาศึกษาพระธรรมวินัย ณ วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลา ๑ พรรษา