แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_1
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง พึงบำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ ให้เต็มเปี่ยมฉันใด ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านจงบำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ ให้เต็มเปี่ยมฉันนั้นเถิด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ตรัสรู้ที่โพธิมณฑล ฉันใด ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านจงตรัสรู้ที่โพธิมณฑลของพระชินเจ้า ฉันนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ทรงประกาศพระธรรมจักร ฉันใด ขอท่านจงประกาศพระธรรมจักร ฉันนั้น
วัดพระธรรมกายดีซี จัดพิธีอุทิศส่วนกุศล
วัดพระธรรมกายดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีอุทิศส่วนกุศลแด่หมู่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
วัดพุทธไอซ์แลนด์ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพุทธไอซ์แลนด์ ประเทศไอซ์แลนด์ ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระต้นเดือนมีนาคม
คนไทย 11 ล.เผชิญความดันฯ สูง สธ.เผยตาย ชม.ละ 5 ราย
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (3)
ลูกเอ๋ย ลูกอย่าเชื่อคำนั้น ข่าวที่ว่า สุคติจะมีเพราะเอาบุตรไปบูชายัญ ทางนั้นเป็นทางไปนรก ไม่ใช่ทางไปสวรรค์ ลูกรัก ลูกจงให้ทาน อย่าได้เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง นี่เป็นทางไปสู่สุคติสวรรค์ ส่วนการไปสู่สุคติ ไม่ใช่เพราะเอาบุตรบูชายัญ
Cock-fight
ชายคนหนึ่ง เป็นทหารอากาศ นอกจากจะดื่มเหล้าแล้ว เขายังชอบเล่นไก่ชน มวยตู้ เขาทำอย่างนี้ตั้งแต่วัยหนุ่ม จนอายุได้ 50 กว่าปี...ในช่วงท้ายของชีวิต เขาต้องเข้า-ออกโรงพยาบาลเป็นประจำ เริ่มจากการเข้ารับการผ่าตัดดวงตาทั้งสองข้าง ต่อมา มีอาการอาเจียนเป็นเลือดออกมาเป็นลิ่มๆ คุณหมอบอกว่า “ป่วยเป็นตับแข็ง” ในที่สุดเขาก็เสียชีวิต...ก่อนที่เขาจะเสียชีวิต ลูกสาวของเขาได้นิมนต์พระ 9 รูป มาทำบุญที่บ้าน และให้เขาได้ถวายผ้าป่า 1 กอง...ชีวิตหลังความตายของเขาเป็นอย่างไร...ที่นี่...มีคำตอบ...
นักวิจัยวิเคราะห์ "หวย" ชี้ มีแต่ "เสีย" มากกว่า "ได้"
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทน ๕ ประการ คือ ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทนมี ๕ ประการเช่นนี้แล
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์