คณะกัลยาณมิตรร่วมพิธีทอดผ้าป่าบำรุงวัด 6 วัด ณ วัดพุทธไอซ์แลนด์
คณะกัลยาณมิตรทั้งชาวไทยและชาวท้องถิ่น ได้ร่วมพิธีทอดผ้าป่าบำรุงวัด จำนวน 6 วัด ณ วัดพุทธไอซ์แลนด์
พิธีทอดผ้าป่า 323 วัด 4 จังหวัด ชายแดนใต้ ครั้งที่ 93 จังหวัดนราธิวาส
พิธีถวายสังฆทาน 323 วัด พิธีมอบกองทุนหนุนแรงใจช่วยครูใต้และพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศลแด่ผู้วายชนม์ในเหตุการณ์ความไม่สงบ 4 จังหวัดชายแดนใต้ ปีที่ 9 ครั้งที่ 93 วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2556 ณ โรงแรมมารีน่า อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส
ประมวลภาพพิธีถวายมหาสังฆทาน 315 วัด ณ บริเวณวงเวียน 5 แยก วัดมหาเมี๊ยะมุนี
พิธีถวายมหาสังฆทาน 315 วัด ณ บริเวณวงเวียน 5 แยก วัดมหาเมี๊ยะมุนี นครเชียงตุง รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
พิธีถวายสังฆทาน 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 149
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และคณะกัลยาณมิตรจากทั่วโลก จัดพิธีถวายสังฆทานคณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนใต้ ปีที่ 15 ครั้งที่ 149
พิธีถวายสังฆทาน 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนใต้ ปีที่ 15 ครั้งที่ 141
วัดพระธรรมกายถวายสังฆทานคณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนใต้ ปีที่ 15 ครั้งที่ 141 ณ วัดบุณณาราม จ.นราธิวาส
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
พิธีถวายความช่วยเหลือคณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2562
พิธีถวายความช่วยเหลือคณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดภาคใต้ ปีพุทธศักราช 2562 วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2562 ณ หอฉันคุณยายอาจารย์ วัดพระธรรมกาย
พิธีถวายสังฆทานออนไลน์แด่คณะสงฆ์ 323 วัด ปีที่ 17 ครั้งที่ 154
วัดพระธรรมกาย และคณะกัลยาณมิตรทั่วโลก จัดพิธีถวายสังฆทานออนไลน์ แด่คณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนใต้ ปีที่ 17 ครั้งที่ 154 และพิธีมอบกองทุนหนุนแรงใจช่วยครูใต้ ปีที่ 14 โดยมีพุทธศาสนิกชนทั่วโลกร่วมพิธีกรรมผ่านระบบ ZOOM เป็นจำนวนมาก
พิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ 10,000 วัด ทั่วประเทศ (วันคุ้มครองโลก 22 เมษายน 2567)
พิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ 10,000 วัด ทั่วประเทศ เนื่องในโอกาสอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย ในวันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2567 (วันคุ้มครองโลก) ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้