มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ทางรอดจากสังสารวัฏ
ทันทีที่ พระราชาบรมโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นผมหงอกบนฝ่าพระหัตถ์ ทรงสลดพระทัยพลางสอนตนเองว่า "ดูก่อนเจ้าสุสีมะ บัดนี้เวลาของชีวิตเจ้าล่วงเลยมามากแล้ว การอยู่ครองเรือนตกอยู่ในอำนาจของกิเลสอาสวะเช่นนี้ ไม่ใช่ทางรอดของชีวิต การบรรพชามุ่งทำความบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นเท่านั้น เป็นทางรอดจากสังสารวัฏได้ ถึงเวลาที่เจ้าจะต้องประพฤติพรหมจรรย์แล้ว"
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๑)
เรื่องราวชีวิตในสังสารวัฏนั้น มีเรื่องแปลกๆ มากมาย ที่เป็นคำถามให้สงสัย รอคอยผู้มีบุญมาเฉลยคำตอบ ชีวิตของบุคคลที่เกิดมา ล้วนมีฉากหลังกำกับ นั่นคือบุญและบาป ขึ้นอยู่กับสิ่งใดจะมีกำลังส่งผลมากกว่ากัน คนที่ได้รับผลบุญพิเศษนั้น จะต้องสร้างบุญไว้มากๆ ไม่ใช่ว่าจะได้มาอย่างง่ายๆ ถ้าอยากกำหนดชีวิตของเราให้เป็นไปในทิศทางใด
การบรรพชา-อุปสมบทหมู่ครั้งประวัติศาสตร์ที่อินเดีย
พอ 6โมงเช้า พิธีเวียนประทักษิณรอบโพธิมณฑลก็เริ่มขึ้น โดยมีประธานฝ่ายฆราวาส คือ ฯพณฯ สุวิทย์ ยอดมณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย ให้เกียรติมาอัญเชิญผ้าไตรพระราชทานจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสม สวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 18
เมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าเสด็จออกจากพระนครไปได้ระยะ หนึ่ง ก็มีพระดำริว่า เราจะให้พระเทวีและมหาชนกลับในบัดนี้ จึงทรงหยุดพระดำเนิน แล้วหันมาตรัสถามผู้ที่ติดตามพระองค์มาว่า “ราชสมบัติในมิถิลานครเป็นของใคร” เหล่าอำมาตย์ก็กราบทูลว่า “เป็นของพระองค์ พระเจ้าข้า” “ถ้าเช่นนั้น พวกท่านจงลงราชทัณฑ์แก่ผู้ที่ข้ามรอยที่เราจะขีดนี้”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 17
พระเทวีได้ทูลอ้อนวอนว่า “พระองค์ทรงละทิ้งพวกหม่อมฉัน เสด็จหนีไปแต่ผู้เดียว ทรงทำอย่างนี้ไปเพื่ออะไร พวกหม่อมฉันมีความผิดอะไรหรือ พระองค์มุ่งเสด็จไปประดุจว่าปราศจากราชสมบัติเสด็จออกผนวช”
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
พิธีอุปสมบท ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา อุปสมบท ปัจจุบันใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม หรือ อุปสัมปทา คู่กับคำว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็นสามเณร
สื่อมวลชนเสนอข่าว ''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน"
''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน" โดยมีสื่อมวลชนหลายแห่งให้การเผยแพร่ข่าวสารนี้
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 11 รูป | วันวิสาขบูชา พ.ศ. 2567
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 11 รูป วันวิสาขบูชา VISAKHA PUJA DAY วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2567 ณ อุโบสถพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 7 รูป
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 7 รูป ในวันวิสาขบูชา วันของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า