วางเฉยหรือหนีความจริง
คำถาม : การที่เราทำเฉยกับทุกเรื่องที่ทำให้เราเป็นทุกข์ ถือว่าเราหนีความจริงหรือเปล่าคะ
The Noble Truth of Suffering : 5. Sorrow [soka dukkha]
The Buddha characterized the suffering of sorrow as afflicting one with burning in the heart as if the mind has list all refreshedness
ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์
ขั้นตอนการชดใช้กรรมของผู้ผิดศีลกาเมฯ ตอน ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์ ความเดิมจากตอนที่แล้ว เมื่อวิบากกรรมเบาบางจากเปรต อสุรกาย ก็มาต่อด้วยการเป็นสัตว์เดรัจฉาน เริ่มต้นจากสัตว์ชั้นต่ำ
เราจะใช้ทรัพย์อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เวลาคือทรัพย์ที่ทุกชีวิตมี เราจะใช้ทรัพย์คือเวลาอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด?
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
เทศกาลออกพรรษาที่เชียงตุง
พระพุทธศาสนาในเชียงตุง เราจะไม่ทอดทิ้งกัน แม้ว่าจะมีความหลากหลายของเชื้อชาติ และเผ่าพันธุ์ แต่วัดคือศูนย์รวมจิตใจ ให้ชาวเชียงตุงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยไม่จำกัดว่า วัดนี้เป็นของใคร ส่วนใหญ่ชาวเชียงตุงจะมีวัดที่ไปบ่อยๆ หรือเป็นวัดที่บรรพบุรุษช่วยกันสร้าง แต่ประเพณีของเรา จะปลูกฝังให้ชาวเชียงตุงรักการทำบุญ และนิยมไปทำบุญกันหลายๆวัด จะเอาประเพณีเป็นตัวผลักดัน เรียกว่า สุข-ทุกข์ ก็ให้ไปวัด แม้ไม่มีอะไรมีแต่มือเปล่าก็มาวัดได้
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 22
จากนั้นก็ทรงมีพระราชดำรัสสั่งให้เปิดท้องพระคลังทั้งหมด และให้จารึกแผ่นทองคำติดไว้ ณ เสาท้องพระโรงว่า “ผู้ใดต้องการทรัพย์สมบัติเงินทองของมีค่า ก็จงมาขนเอาไปจากท้องพระคลังหลวงนั้นเถิด”
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - เส้นทางที่เลือกเดิน
คนเหี้ยมโหดมีมือเปื้อนเลือดชอบฆ่าสัตว์ - เขาก็จะเป็นคนมีอายุสั้น คนที่ไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากปาณาติบาต - เขาจะมีอายุยืน โรคภัยไข้เจ็บไม่เบียดเบียน
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ละตัณหาได้ ไม่ต้องเกิดอีก
ครั้นพระบรมศาสดาทรงแก้ปัญหาจบลงแล้ว พราหมณ์ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม ไม่ได้บรรลุอรหัตผล ได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผลเท่านั้น เพราะเวลาฟังพยากรณ์ปัญหา มีจิตฟุ้งซ่าน คิดถึงลุงผู้เป็นอาจารย์ว่า ลุงของเราหาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาอันลึกซึ้งไพเราะอย่างนี้ไม่ อาศัยความกังวลที่มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความรักใคร่ในลุง จึงไม่อาจทำให้สิ้นอาสวะในตอนนั้นได้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - บัณฑิตผู้แสวงหาทางพ้นทุกข์
ในขณะนั้นเอง ดวงตาเห็นธรรมได้บังเกิดขึ้นกับท่านอชิตะ และท่านได้ทูลถามถึงข้อควรปฏิบัติ โดยกล่าวถามอย่างชาญฉลาดว่า "ชนผู้ได้เห็นธรรมแล้ว และชนผู้ยังต้องศึกษาอยู่ สองพวกนี้มีอยู่ในโลกเป็นอันมาก พระองค์มีปัญญาแก่กล้า ขอทรงโปรดตรัสบอกวิธีการปฏิบัติแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด"