ผลการปฏิบัติธรรมนานาชาติพีซ เรฟโวลูชั่น
หลังจากที่เยาวชนในโครงการพีซ เรฟโวลูชั่นผ่านการหล่อหลอมทางเว็บไซต์ ทีมงานก็ได้ใช้กลยุทธ์ทุกรูปแบบ คัดเลือกหัวกะทิจากทั่วโลก ผู้สนใจสมาธิและอยากเห็นโลกเกิดสันติภาพจากสันติสุขภายในให้มารวมตัวกัน การมาเมืองไทยครั้งนี้จึงเป็นโอกาสดีในชีวิตของทุกคน ที่จะเรียนรู้วิธีการทำสมาธิให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เราได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากโครงการ The Middle Way โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 – 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 ณ สวนป่าหิมวันต์ อ.ภูเรือ จ.เลย มีผู้เข้าร่วมทั้งเยาวชนและพีซโค้ชรวมทั้งสิ้น 17 ท่าน โดยทุกคนมีความตั้งใจและมีผลการปฏิบัติธรรมที่ดี จากตัวแทน 9 ท่าน
ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่
วัดพระธรรมกายจัดงานบุญวันอาทิตย์ คณะสงฆ์-สาธุชนทั่วโลก ร่วมพิธีกรรมผ่านซูม
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี จัดงานบุญวันอาทิตย์ โดยมีคณะสงฆ์และสาธุชนจากทั่วโลก ร่วมพิธีกรรมผ่านระบบซูม
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
นักวิชาการเตือนฟ้าผ่า! ไม่ได้เกิดจากโลหะสื่อล่อฟ้า
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ตะลึง! 6พันเว็บไซต์ขายบุหรี่ชูรส
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น