อาการปวดหัวที่ต้องระวัง
อาการปวดหัวมีระดับของความรุนแรงที่แบ่งไปแต่ละประเภท เช่น การปวดหัวทั่วไปหรือปวดหัวไมเกรน เพราะฉะนั้นเราจะสังเกตอย่างไรว่าอาการขั้นไหนที่รุนแรงหรือไม่ ต้องรักษาอย่างไร
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ตายก่อนตาย ตายแล้วสบาย
ความตายของมนุษย์มีอยู่ ๓ ประเภท คือ ตายหลังตาย ตายขณะตาย และตายก่อนตาย ตายหลังตาย คือ ขณะตายนั้นไม่มีสติ หรือไม่รู้เนื้อรู้ตัวมาก่อน เสียชีวิตกระทันหัน เช่นนี้เป็นต้น กว่าจะรู้ตัวว่า ตนเองเสียชีวิตแล้ว ก็ ๓ วันบ้าง ๗ วันบ้าง หรือเกินไปกว่านั้นก็มี ต้องไปเป็นกายสัมภเวสีที่ล่องลอยไปมา จะทักทายใครก็ไม่มีใครรู้เรื่อง เพราะอยู่กันคนละภพภูมิ
เรื่องของกาม
"กาม" คืออะไร ศิลปะ การคำนวณ การค้าขาย ฯลฯ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม...
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
จับตร.จราจรฝึก หัวเราะลดเครียด
รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
กองบริหารการก่อสร้าง CMD (Construction Management division)วัดพระธรรมกาย รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และระดับ ปวช., ปวส. สอบถามข้อมูลได้ที่ คุณดุจมณี ละดาดก โทร 08-2790-7026 E-mail [email protected]
นวดอย่างไร จึงจะเหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติธรรม (2)
ผู้ปฏิบัติธรรมส่วนใหญ่ มักจะมีปัญหาเรื่องปวดหลังเพราะชอบเผลอนั่งหลังงอ ปัญหานี้สามารถนวดคลายอาการปวดหลังด้วยตนเองได้ง่ายๆ
พิธีมอบพระบรมสารีริกธาตุบรรจุภายในพระเกตุสมโภชองค์พระประธาน 3 ประเทศ
หลวงพ่อทัตตชีโว เมตตาเป็นผู้แทนมอบพระบรมสารีริกธาตุ เพื่ออัญเชิญไปบรรจุภายในพระเกตุขององค์พระประธาน ในพิธีสมโภช จำนวน 3 วัด 3 ประเทศ
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้