จุดเริ่มต้นแห่งถนนพุทธวิถี
ชาวปวาเก่อญอ ดีใจกันมากครับ “ห้อยแล้วรวย” ภาษาปวาเก่อญอ คือ “ลีโกโปะลี แกโด้ะ แกทอ” ครับ และทุกคนที่ได้ฟังเพลง ตะวันบนดอย ที่เปิดในงานกล่าวว่า เพลงที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาประพันธ์นั้น ไพเราะมากครับ เข้าใจในเนื้อหาครับ และดีใจเป็นพิเศษที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตากล่าวโอวาทเปิดงานเป็นภาษาปวาเก่อญอ พี่น้องชาวปวาเก่อญอ กล่าวว่า สามารถเข้าใจโอวาทของพระเดชพระคุณหลวงพ่อได้ดีครับ
ฆ่าสัตว์ทำบุญได้บาปด้วยเหตุ 5 ประการ
ผู้ใดฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคต หรือสาวกตถาคต ผู้นั้นย่อมประสบบาปมิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ.....
"สหกรณ์ฯ กับ วัดพระธรรมกาย" ความจริงที่คุณยังไม่รู้เกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย
"สหกรณ์ฯ กับ วัดพระธรรมกาย" ความจริงที่คุณยังไม่รู้เกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย ที่นี่มีคำตอบ !!!
ชีวิตที่ไม่สมดุล 14 ประการ เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง
พฤติกรรมที่ควรหลีกเลี่ยง(ไลฟ์สไตล์มรณะ)14 ประการ ถ้าคุณเลิกได้จะมีสุขภาพที่ดี
ชาวร้อยเอ็ดนับหมื่น ทำบุญตักบาตรครั้งยิ่งใหญ่ พระสงฆ์ 1,111 รูป
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ขอบคุณเธอ
ป้า เป็นคนใจประเสริฐ ได้เลี้ยงดูตัวลูกและพี่สาวทั้งสอง เหมือนกับเลี้ยงลูกแท้ๆของท่าน จนลูกไม่มีความรู้สึกว่าขาดแม่เลย
ตะลึงเวียดนามการศึกษาเจริญกว่าไทย
ติรัจฉานภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดในพวกเทวดาหรือมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้ สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้วกลับไปเกิดในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน ในเปตติวิสัย มีมากกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแล เธอทั้งหลาย พึงกระทำความเพียรเพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา