พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "คนทำจริงจะไม่ทิ้งหัวใจ 4"
พุทธสุภาษิต วันนี้ "สาธุ โข สิปฺปกํ นาม, อปิ ยทิสํ กีทิสํ, ขึ้นชื่อว่าศิลปะ แม้เช่นใดเช่นหนึ่ง จะยังประโยชน์ให้สำเร็จได้" พุทธศาสนสุภาษิต ที่บัณฑิตควรศึกษาไว้...
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
วัดพระธรรมกายซีแอตเติลสอนสมาธิเบื้องต้น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สอนสมาธิ ณ YWCA Downtown Vancouver ซึ่งเป็นองค์กรช่วยผู้หญิงยากไร้
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
ภาษาบาลี สันสกฤตคืออะไร ศึกษาไปเพื่ออะไร
ภาษาบาลี โดยคำว่า "บาลี" มาจากคำว่า "ปาลี" ซึ่งวิเคราะห์มาจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา ลง ณี ปัจจัยๆ ที่เนื่องด้วย ณ ลบ ณ ทิ้งเสีย ปาลี แปลโดยอรรถว่า "ภาษาที่รักษาไว้ซึ่งพระพุทธวจนะ"