มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๒)
คนพาลทำกรรมชั่วที่มีผลเผ็ดร้อน แล้วเดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้นไม่ดี ไม่ควรกระทำ ส่วนบุคคลใดทำกรรมใดแล้ว มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน ไม่เดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้น เป็นความดี ควรทำ
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เป็นมนุษย์สุดประเสริฐ
การได้เกิดมาเป็นมนุษย์นั้น เป็นของยากเหลือเกิน จะต้องมีกำลังบุญมากพอ ถ้ากำลังบุญน้อยๆ มาเกิดเป็นมนุษย์ไม่ได้ แต่ดูเหมือนว่า สิ่งที่ได้มาด้วยความยากลำบากนี้ เรามักใช้กันอย่างไม่ทะนุถนอม ใช้กันอย่างถล่มทลาย โดยไม่รู้คุณค่าของกายมนุษย์ ว่าสำคัญแค่ไหน
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า
กินจิ้งจกรักษาโรค
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ตอบปัญหาธรรมะ
ครั้งนั้น มีลูกของเศรษฐีได้สนทนากันในเรื่องที่ว่า ทำอย่างไรจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อไม่รู้วิธี จึงได้ชักชวนกันออกแสวงหาธรรมะกับครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียง เมื่อได้รับการแนะนำจากอาจารย์ให้มาถามปัญหาธรรมะกับพระบรมศาสดา จึงพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
พิธีมอบประกาศนียบัตรพระอภิธรรม ประจำปี 2553
วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพมหานคร จัดพิธีมอบประกาศนียบัตร แด่ผู้จบอภิธรรมมหาบัณฑิตและนักศึกษาที่สอบอภิธรรมผ่านทุกชั้นในภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2553
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ผู้มีจิดเกษม
เครื่องผูกมัดเหล่านี้เปรียบเหมือนเชือกสี่เกลียว ที่ผูกมัดตัวเราไว้กับภพ ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารไม่รู้จบสิ้น สัตวโลกต้องพบกับภัยทั้งหลาย ดิ้นกันไม่หลุด จิตจึงไม่พบกับความเกษมสำราญ มีสุขมีทุกข์คลุกเคล้ากันไป สุกๆดิบๆ จะหาสุขจริงๆนั้น ยังหาไม่พบ มีแต่หลงเพลิดเพลินไปวันๆ สภาวะของจิตเกษมจึงไม่เคยพบเจอไม่เคยรู้จัก
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้
ทำอย่างไรถึงจะได้ไปนิพพาน
จากภพภูมิที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ภูมิมนุษย์เท่านั้น ที่มีความพิเศษกว่าภูมิอื่น เพราะเป็นสถานที่สร้างบุญและบาปได้อย่างเต็มที่