เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
สัมมนาพิเศษ "บุญสุวรรณรังสวรรค์มหาธรรมกายเจดีย์"
สัมมนาพิเศษ เกี่ยวกับบุญสุวรรณรังสวรรค์มหาธรรมกายเจดีย์ โดยพระครูธรรมธร อารักษ์ ญาณารกฺโข พร้อมพิธีบูชาข้าวพระ ในวันพุธที่ 1 มกราคม พ.ศ.2568 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
รณรงค์รับโทร.-ใช้สวัสดีแทนฮัลโหล
ส.ว.จี้ประสานสถานทูตเนเธอร์แลนด์จัดการภาพพระพุทธรูปติดหน้าส้วมด่วน !
วันนี้ (22 ม.ค.) ที่รัฐสภา ในการประชุมวุฒิสภา ที่มีสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานวุฒิสภาคนที่ 1 เป็นประธาน ก่อนเข้าสู่วาระการประชุม นายประสงค์ นุรักษ์ ส.ว.สรรหา ได้หารือถึงกรณีที่มีการปิดภาพพระพุทธรูปลงในหน้าส้วมสาธารณะที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ ว่า เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสม ทราบว่ามีการแจ้งเรื่องนี้ไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์แล้วแต่ก็ยังไม่มีการดำเนินการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรเลย
Answer by Law of Kamma :- Killing for Food for Sale
An audience kills the live animals for food for sale. She questions that what bad retributions she will get from this.
“อภิรักษ์” สั่งงด Count Down ปีใหม่ มุ่งทำบุญ-ร้องเพลงอวยพรแทน
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
สัมมนาพิเศษ "เพื่อพ่อลูกทำได้ทุกสิ่ง" วันอาทิตย์ต้นเดือนที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2567
สัมมนาพิเศษ 'เพื่อพ่อลูกทำได้ทุกสิ่ง' โดยพระครูธรรมธร อารักษ์ ญาณารกุโข ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ในวันอาทิตย์ต้นเดือนที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2567 เวลา 13.00 - 15.00 น. ณ ห้องแก้วสารพัดนึก 1 สภาธรรมกายสากล
‘อีเมล’ มลพิษใหม่ในออฟฟิศ ตัวการทำเครียด-งานถดถอย
I have a meditation room in my factory for the employees to chant and meditate. How can I make them more interested in Dhamma than the present time?
I have a meditation room in my factory for the employees to chant and meditate. Do you have any method to make them more interested in Dhamma than the present time?